You are on page 1of 205

Shipping methods

Import-Export
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
nus.toom@gmail.com
M/B: 086-833-2185
Industrial/
Logistics Industrial Functional Map
Service

3. การจัดการคลังสิ นค้าและ
Cluster 1. การวิ เคราะห์และวางแผน 2. การจัดซื้อและจัดหา
สิ นค้าคงคลัง
4. การบริ การลูกค้า 5. การขนส่ง

แยกตามรูปแบบ
การขนส่ง
งานวิ เคราะห์และวางแผน งานจัดซื้อและจัดหา งานบริ การลูกค้า

1. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า 2. งานควบคุมสิ นค้าคงคลัง 3. งานควบคุมรถยกสิ นค้า 4. งานควบคุมรถยกสิ นค้า
ขนาดไม่เกิ น 10 ตัน ขนาดตัง้ แต่ 10 ตัน ขึ้นไป

ทางท่อ (อ้างอิ งมาตรฐาน


ทางถนน ทางน้ า ทางอากาศ
การปฏิ บตั ิ งานท่อและแท้งค์
ฟาร์ม)
Occupation/ 8. งานบริ หารท่าเรือ ทางราง (อ้างอิ งมาตรฐาน
ในประเทศ ต่างประเทศ
Job 13. งานบริ หารการขนส่งทาง การปฏิ บตั ิ งานของการ
1. งานบริ หารการขนส่ง 9. งานปฏิ บตั ิ การท่าเรือ อากาศ รถไฟแห่งประเทศไทย)
4. งานบริ หารท่าเรือ
ทางถนน
10. งานเดิ นเรือ (อ้างอิ ง 14. งานปฏิ บตั ิ การท่าอากาศยาน
5. งานปฏิ บตั ิ การท่าเรือ มาตรฐานการปฏิ บตั ิ งานของ (อ้างอิ งมาตรฐานการปฏิ บตั ิ งานของ IATA)
2. งานฏิ บตั ิ การการขนส่ง คณะกรรมการพาณิ ชย์นาวี)
15. งานขนส่งสิ นค้าทางอากาศ
สิ นค้าทางถนน
6. งานเดิ นเรือ (อ้างอิ ง 11. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า (อ้างอิ งมาตรฐานการปฏิ บตั ิ งานของ ICAO)
มาตรฐานงานของกรมเจ้าท่า) ต่างประเทศ (อ้างอิ งมาตรฐาน
3. งานสนันสนุนการขนส่ง งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า) 16. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้าต่างประเทศ
(อ้างอิ งมาตรฐานงานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า)
7. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า
12. งานนาเข้า-ส่งออก
ในประเทศ (อ้างอิ งมาตรฐาน
งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า)
(อ้างอิ งมาตรฐานสมาคม 17. งานนาเข้า-ส่งออก (อ้างอิ งมาตรฐาน
ตัวแทนออกของ) สมาคมตัวแทนออกของ)
AGENDA
1. กิจกรรมการ การนาเข้ า
2. ขัน้ ตอนการนาเข้ าสินค้ าทางทะเล
3. ขัน้ ตอนการจองรถ
4. อธิบายรายละเอียดใบขนสินค้ าขาเข้ า
5. ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ านนาเข้ า
6. พิกัดศุลกากร
7. เงื่อนไขทางการค้ า
8. การตรวจปล่ อยสินค้ าขาเข้ า
9. ข้ อควรระวังกฎหมายศุลกากร
10. การเตรียมเอกสารขาเข้ า
11. ตัวอย่ าง
1.หลักการทั่วไป
(e-customs)

อาจารย์ ธีร์วรา บวชชัยภมู ิ


AJ.Teewara Buchaiyaphum
(e-customs)

รวมกระบวนงาน

ทางกายภาพ

PAPERLESS

AJ.Teewara Buchaiyaphum
หลักการทั่วไป (e-customs)
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
จะปฏิเสธความผูกพันและบังคับใช้ ตามกฎหมายเพราะเป็ นข้ อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ ได้
ข้ อความในรู ปข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ถอื เป็ นหลักฐานหนังสือหรือ
เอกสารที่ได้ แสดงและลงลายมือชื่อแล้ ว

กรณีส่งข้ อมูลผ่ าน VANS เข้ าระบบคอมพิวเตอร์ ศุลกากร ถ้ าระบบ


ตอบรั บข้ อมูลอัตโนมัตแิ ล้ ว ถือว่ า เป็ นการยื่นเอกสารนัน้ ตามกฎหมาย

มิได้ ยกเลิกยื่นใบขนสินค้ าด้ วยกระดาษสาหรับผู้ตดิ ต่ อเจ้ าหน้ าที่จะ


ดาเนินการตามกระบวนการรั บเอกสารในระบบศุลกากร

อ.ธีร์วรา บวชชั ยภูมิ


AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550
ลงทะเบียนก่ อนดาเนินการตามกระบวนการทาง
ศุลกากร ยื่นต่ อ ฝ่ ายทะเบียนและสิทธิพเิ ศษ
หรือ สานักงานศุลกากร
ต้ องการรั บ-ส่ งข้ อมูล หรื อด่ านศุลกากรทุกแห่ ง
อิเล็กทรอนิกส์ ขอระบบกับ
สานักเทคโนโลยี กรม
ศุลกากร

แจ้ งกรมศุลกากรทันที เมื่อเปลี่ยนแปลงข้ อมูล


ทางทะเบียน
AJ.Teewara Buchaiyaphum
หลักการทั่วไป
ส่ งข้ อมูลพร้ อมลายมือชื่อ แทนการยื่นเอกสารและลงลายมือชื่อใน
(Digital Signature) กระดาษ
ebXML/XML Format

VAN
ผู้ประกอบการ
กรมศุลกากร

AJ.Teewara Buchaiyaphum
Partin Seangthai
บุคคลที่ต้องลงทะเบียนผ่ านพิธีการ

ผู้นาเข้ า - ผู้ส่งออก

ตัวแทนออกของ

ผู้รับผิดชอบการบรรจุ

ตัวแทนผู้รายงานยานพาหนะ เข้ า-ออก

ธนาคารศุลกากร

AJ.Teewara Buchaiyaphum
การตรวจสอบลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature)

VAT ID ของลายเซ็น
อิเล็กทรอนิกส์ กรณี Service Counter
เท่ านัน้ ตรวจสอบ ID เลขที่บัตร
ประชาชนของ
ผู้นาเข้ า / ผู้ส่งออก  ผู้จัดการ หรื อ
(company Tax No) ผู้รับมอบอานาจของ
ตัวแทนออกของ ผู้ประกอบการ หรื อ
(Broker Tax No) ผู้รับมอบอานาจของ
Company Tax ตัวแทนออกของ
No
ของ EDI User
AJ.Teewara Buchaiyaphum
การตรวจสอบข้ อมูลใบขนสินค้ าขาเข้ า
กับระบบทะเบียนผู้มาติดต่ อ
ความสัมพันธ์ ของผู้ส่งออก/ผู้นาเข้ ากับตัวแทนออกของ
(ต้ องมีการว่าจ้ างระหว่างผู้นาเข้ า/ส่งออกกับตัวแทนออกของ)
หากไม่ ถูกต้ องระบบจะแจ้ ง Error Message
ผู้ส่งออก/ผู้นาเข้ า ไม่ ได้ ว่าจ้ าง ตัวแทนออกของ
(Export/Import does not hire Customs Broker)
ตัวแทนออกของ ไม่ ได้ รับจ้ าง ผู้ส่งออก/ผู้นาเข้ า
(Export/Import does not employ Customs
Broker)
AJ.Teewara Buchaiyaphum
การตรวจสอบข้ อมูลใบขนสินค้ าขาเข้ า
กับระบบทะเบียนผู้มาติดต่ อ
ความสัมพันธ์ ของ ผู้มีอานาจกระทาการ(Manager Card เดิม)
กับ ผู้ส่งออก/ผู้นาเข้ าหรื อตัวแทนออกของ

เฉพาะกรณีท่ สี ่ งข้ อมูลผ่ านระบบ


ของ Service Counter

จะต้ องตรวจสอบกับระบบทะเบียน ดังนี ้


ต้ องเป็ น ผู้มีอานาจกระทาการ ของ ผู้ส่งออก/ผู้นาเข้ า หรื อ
ต้ องเป็ น ผู้มีอานาจกระทาการ ของ ตัวแทนออกของ
AJ.Teewara Buchaiyaphum
การตรวจสอบการผ่ านพิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

พิธีการใบขนสินค้ า
- แฟ้ มข้ อมูลอ้ างอิง(Reference File)
-พิกัดอัตราศุลกากร
-รหัสย่ อต่ าง ๆ รหัสประเทศ รหัสหน่ วย
ข้ อมูลการอนุมัต/ิ อนุญาตตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
- การใช้ สิทธิประโยชน์ เช่ น BOI, 19 ทวิ ,FTA ต่ างๆ
ฯลฯ

AJ.Teewara Buchaiyaphum
Area Code รหัสสถานที่
Currency Code สกุลเงิน
Exchange Rate อัตราแลกเปลี่ยน
Import Duty Rate อัตราอากร
Tariff Statistic รหัสสถิติ
Privilege Code รหัสสิทธิพเิ ศษ
Excise Tariff พิกัดสรรพสามิต
Permit ใบอนุญาต
Unit Code รหัสหน่ วย
Company บริษัท
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ตัวแทนเรือ/ผู้ควบคุมยาน
ระบบคอมพิวเตอร์ ของกรมศุลกากร
eb-XML
เตรี ยมข้ อมูลรายงานการ
นาเข้ าและ Manifest ตอบกลับเลขที่
บัญชีถ่ายลา
บัญชีผ่านแดน
รั บรายงาน
บัญชีขนขึน้ ท่ านาเข้ า Response
บัญชีสินค้ าติดเรื อ Massage
บัญชีขนขึน้ ท่ าอื่นใน
ราชอาณาจักร

AJ.Teewara Buchaiyaphum
Manifest บัญชีอ่ ืนๆ
โดยมิได้ ส่งทางอิเล็กทรอนิกส์
ยื่นเอกสารประกอบรายงานเรือเข้ าต่ อ ท่ าหรือที่
นาเข้ า ภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่ เรือมาถึงท่ า
กรณีเริ่มขนถ่ ายโดยยังไม่ ย่ นื Manifest
คาร้ องขออนุญาตพิเศษ

ของทางราชการ บรรทุกของขาออกลง
เรื อที่มีแต่ อับเฉา
ใบอนุญาตพิเศษจะระบุว่าอนุญาตให้ ทาการใดและบันทึกวันเวลาอนุญาตไว้

AJ.Teewara Buchaiyaphum
รายงานการนาเข้ า
ขอเปิ ดระวางเรื อ(Vessel Schedule : VSED)

ผู้เตรี ยมและจัดส่ งข้ อมูล ตัวแทนผู้รับมอบอานาจจากนายเรือ

ระบบคอมพิวเตอร์ ศุลกากร แจ้ งกลับเลขที่รับรายงานนาเข้ า

ถือว่ ายื่นใบแนบ 1 แล้ ว เปิ ดระวางเรื อเพื่อขนถ่ ายได้ ทนั ที

ให้ ย่ นื คาร้ องขออนุญาตพิเศษขนถ่ ายของทาง


ราชการ หรื อบรรทุกของขาออกลงเรือเปล่ า

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อมูลรายงานนาเข้ า
1

ตัวแทนผู้รับมอบ แจ้ งวันนาเข้ าจริงและเวลา


อานาจจากนายเรื อ เรื อถึงเขตท่ า (Actual
ส่ งข้ อมูลทาง
electronic Date Actual Time)
ถือว่ าลงรายละเอียดในสมุดรับเรือ (แบบ314)

2 Master Sea Cargo


จัดส่ ง E -Manifest
เรื อ House Sea Cargo
แยกบัญชีถ่ายลา สินค้ าผ่ านแดน ขน
ตามเลขที่รับรายงานเรือ
ขึน้ ท่ านาเข้ า สินค้ าติดเรื อ ขนขึน้ ท่ า
เข้ า ภายใน 24 ชั่วโมงนับ
อื่น(ไม่ ต้องสาเนา)
แต่ รับรายงานเรือเข้ า
สาเร็จ Container List, Container
Rack
AJ.Teewara Buchaiyaphum
Shipping Mark
รู ปภาพ  บันทึกเป็ น “picture”

ข้ อความ บันทึกเป็ นข้ อความตามจริง

ภายใน 48 ชั่วโมง
แก้ ไขบัญชีสินค้ าเรือนับแต่ ภายหลัง 48 ชั่งโมง ตัวแทนผู้รับมอบ
วันรั บรางรายงานนาเข้ าสาเร็จ อานาจจากนายเรือ ทาคาร้ องขอแก้ ไข
(Amended Should Be/Shortlanded/Overlanded)
ครบ 2 เดือนนับจากวันเรื อ พิจารณาความผิดเป็ นรายๆไป
เข้ า ตัวแทนเรือแจ้ งผู้รัตรา List A
ส่ ง ภายใน 15 วัน
ครบ 15 วันนับจากวันที่รับแจ้ ง(List A)
List F
ยื่นคาร้ องแก้ ไขผ่ อนผันของค้ างบัญชี
AJ.Teewara Buchaiyaphum
รายงานเรื อเข้ า ตรวจสอบเบือ้ งต้ น ตอบกลับ “ยังไม่ มี
ไม่ สาเร็จ การรายงานเรือเข้ าสาเร็จ” ไม่ ออกเลขที่
รายงานเรื อแล้ ว ตอบกลับว่ า “ยังไม่ พบข้ อมูล
ข้ อมูลไม่ ถูกต้ อง บัญชีสินค้ า” ไม่ ออกเลขที่
จนกว่ าระบบรั บข้ อมูล

ก่ อนระบบอออกเลขที่ ผู้นาเข้ าแก้ ไขข้ อมูลได้ โดยไม่ พจิ ารณาความผิด


ข้ อมูลใบขนมีเลขที่แล้ ว หากพบความผิดพลาด ยื่นคาร้ องเป็ นกรณี ฯ

AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
พระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร

ภาค1 ภาค2 ภาค2 ภาค2


หลัก พิกัด พิกัด ของ
เกณฑ์ อัตรา อัตรา ได้ รับ
การ อากร อากร ยกเว้ น
ตีความ ขาเข้ า ขาออก อากร
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ภาค 1
หลักเกณฑ์ การตีความ

ข้ อ 1 ข้ อ 2 ข้ อ 3 ข้ อ4 ข้ อ 5 ข้ อ 6

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ภาค 1
หลักเกณฑ์ การตีความ

ข้ อ 1. ชื่อหมวด ตอน ตอนย่ อย เพื่อสะดวกอ้ างอิง


จาแนกตามความของพิกัด ตามหมายเหตุหมวด/ตอน
หาไกไม่ ได้ ระบุไว้ เป็ นอย่ างอื่น

แอปเปิ ้ ลสด แอปเปิ ้ ลแช่ เย็น


จัดเข้ าประเภทพิกัด จัดเข้ าประเภทพิกัด
08.08 08.08
เพราะความในประเภท เพราะหมายเหตุข้อ 2
พิกัด 08.08 ระบุไว้ ของตอนที่ 8 ระบุไว้
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อ 2.(ก.) ของยังไม่ ครบชุดสมบูรณ์ ไม่ สาเร็จ
ไม่ ได้ ประกอบ/ถอดแยกจากกัน
(ข.) องค์ ประกอบมีวัตถุหลายอย่ าง

มีดที่มีด้ามทาด้ วยพลาสติก
พิกัด 8211

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อ 3. พิจารณาแล้ วหากจัดได้ หลายพิกัด
ใช้ หลักเกณฑ์ ข้อ 3 จัดประเภทเป็ นลาดับขัน้ ดังนี ้
(ก) ระบุไว้ ชัดกว่ า
(ข) ของที่มีสาระสาคัญ
(ค) ลาดับหลังสุด

73.18 7318.23 หมุดยา้

83.08 8308.20 หมุดยา้ ที่เป็ นรูป


ทรงกระบอกหรือ
สองขา

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ชุดแต่ งผม ประกอบด้ วย
ปั ตตาเลียนใช้ ไฟฟ้ า 85.10
หวี 96.15 กรรไกร 82.13
แปรง 96.03
บรรจุรวมในแพ็คพลาสติก 39.26 จัดเข้ าพิกัด 85.10

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อ 4. ของที่ไม่ อาจจาแนกประเภทตามหลักเกณฑ์
ข้ อ 3 ได้ จาแนกเข้ าประเภทเดียวกับของ
ใกล้ เคียงของนัน้ มากที่สุด

ข้ อ 5 (ก) หีบกล่ องและภาชนะบรรจุท่ คี ล้ ายกัน


มีรูปทรงพิเศษ ใช้ คงทน เข้ ามากับของเพื่อใช้ บรรจุ
ปกติขายไปพร้ อมของ ไม่ มีลักษณะสาระสาคัญของ
ตัวเอง

จัดเข้ าประเภทพิกัด
ปากกา 96.08

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อ 5 (ข) ภาชนะที่ใช้ ในการบรรจุ
ของชนิดที่ตามปกติใช้ บรรจุของนัน้
ถ้ าสามารถใช้ บรรจุซา้ ได้ อีก
ไม่ ให้ จัดรวมกับของที่บรรจุ
เช่ น ถังโลหะสาหรั บบรรจุก๊าซอัด
หรือก๊ าซเหลว คอนเทนเนอร์

ข้ อ 6. แยกประเภทพิกัดย่ อย ตามความประเภท
พิกัดย่ อย+หลักเกณฑ์ ข้อ 1-5 โดยเปรียบเทียบ
ในระดับเดียวกัน และหมายเหตุหมวด ตอน ที่
เกี่ยวข้ อง

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภท HS
แทรกเตอร์

ประเภทย่ อย HS
--แทรกเตอร์ ชนิดคนเดินตาม

ประเภทย่ อน AHTN
--- แทรกเตอร์ ชนิดคนเดินตาม
กาลังไม่ เกิน 22.5 กิโลวัตต์
สาหรับใช้ ในการเกษตร

AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ภาค 2 พิกัดอัตราศุลกากรขาเข้ า
หมวด 1 สัตว์ มีชีวิต ผลิตภัณฑ์ จากสัตว์
ตอนที่ 1 สัตว์ มีชีวติ
ตอนที่ 2 เนือ้ สัตว์ และส่ วนอื่นของสัตว์ ท่ บี ริโภคได้
ตอนที่ 3 ปลา สัตว์ นา้ จาพวกครัสตาเซีย โมลลุสก์ และสัตว์ นา้ ที่
ไม่ มีกระดูกสันหลังอื่นๆ
ตอนที่ 4 ผลิตภัณฑ์ นม ไข่ สัตว์ ปีก นา้ ผึง้ ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์
จากสัตว์ ท่ บี ริโภคได้ ซ่ งึ ไม่ ได้ ระบุหรือรวมไว้ ในที่อ่ นื
ตอนที่ 5 ผลิตภัณฑ์ จากสัตว์ ท่ ไี ม่ ได้ ระบุหรือรวมไว้ ในที่อ่ นื
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ภาค 2 พิกัดอัตราศุลกากรขาเข้ า

หมวด 21 ศิลปกรรม ของที่นักสะสมรวบรวม


และโบราณวัตถุ
ตอนที่ 97 ศิลปกรรม ของที่นักสะสมรวบรวม และ
โบราณวัตถุ

AJ.Teewara Buchaiyaphum
1 ข้ าวเจ้ า ข้ าวเหนียว
2 เศษโลหะทุกชนิด ที่จัดเก็บ
3 หนังโคและหนังกระบือ สินค้ า 2 ประเภท
4 ยาง  หนังดิบ
5 ไม้ ไม้ แปรรูป ไม้ และไม้ แปรรู ป
6 เส้ นไหมดิบ
7 ปลาป่ น
8 JDA
9 ของที่มิได้ ระบุไว้ ใน
ประเภท 1-8 AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทที่ 1 ของที่ส่งออกรวมทัง้ ของส่ งกลับ 1 ปี โดยไม่
เปลี่ยนลักษณะหรื อรู ป
ประเภทที่ 2 ของนาเข้ าและส่ งกลับออกไปซ่ อม ณ
ต่ างประเทศ แล้ วส่ งกลับเข้ ามาภายใน 1 ปี
ประเภทที่ 3 ของนาเข้ ากับตนหรือนาเข้ าชั่วคราว และ
ส่ งกลับไปไม่ เกิน 6 เดือนเช่ น ของใช้ แสดง
ละคร ของใช้ ทดลอง งานก่ อสร้ าง
ประเภทที่ 4 รางวัลและเหรียญตรา ต่ างประเทศมอบให้

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทที่ 5 ของส่ วนตัวที่เจ้ าของนาเข้ าพร้ อมกับตน
พอสมควรแก่ ฐานะ เว้ นรถยนต์ อาวุธปื น
ประเภทที่ 6 ของใช้ ในบ้ านเรือนใช้ แล้ ว เจ้ าของนาเข้ า
พร้ อมกับตน ย้ ายภูมลิ าเนา จานวน
พอสมควรแก่ ฐานะ
ประเภทที่ 7 ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ ประกอบอากาศ
ยาน/เรือ
ประเภทที่ 8 นา้ มันเชือ้ เพลิงเติมอากาศยาน เรือ ไป
ต่ างประเทศ
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทที่ 9 พืชผลที่ผ้ ูมีภมู ิลาเนาในไทยปลูกในเกาะดอน
และริมตลิ่งเขตแดน
ประเภทที่ 10 ของได้ รับเอกสิทธิตามข้ อผูกพันกฎหมาย
ระหว่ างประเทศหรื อทูต
ประเภทที่ 11 ของนาเข้ าหรือส่ งออกไปเพื่อบริจาค
สาธารณกุศลแก่ ประชาชน(ยกเว้ นรถยนต์ )

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทที่ 12 ของนาเข้ าทางไปรษณีย์/สนามบินศุลกากร
ราคาไม่ เกินหนึ่งพันบาท
ประเภทที่ 13 ยุทธภัณฑ์ ใช้ ในทางราชการ
ประเภทที่ 14 ตัวอย่ างสินค้ า
ประเภทที่ 15 คอนเทนเนอร์

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทที่ 16 ของนาเข้ าเพื่อคนพิการโดยเฉพาะ
ประเภทที่ 17 ของนาเข้ าใช้ ประชุมระหว่ างประเทศ
ประเภทที่ 18 ของนาเข้ ามาไม่ เกิน 2 ปี ยังมิได้
เปลี่ยนแปลงลักษณะหรื อรู ปแต่ ประการใด

AJ.Teewara Buchaiyaphum
การนาเข้ าใช้ ราคา CIF
การส่ งออกใช้ ราคา FOB

AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
GATT Valuation Agreement กฎกระทรวงฉบับที่ 132 พ.ศ. 2543
พ.ร.บ.ศุลกากร(ฉบับ 17) พ.ศ. 2543 เริ่มใช้ ตงั ้ แต่ 1 มกราคม 2543
AJ.Teewara Buchaiyaphum
CIF Value Foreign
: ราคาของ CIF เงินต่ างประเทศ
CIF Value Baht
: ราคาของ CIF เงินบาท มีค่าเท่ ากับ
ราคาของ CIF เงินต่ างประเทศ คูณด้ วย
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา

AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ภายในประเทศ ระหว่ างประเทศ

ลดเพื่อคุ้มครอง ศก. การค้ าเสรี


มั่นคง และผาสุก ปชช. ตามมาตรา 14
ตามมาตรา 12

AJ.Teewara Buchaiyaphum
รหัสสิทธิพิเศษ : Privilege Code

พ.ร.ก. พิกดั ฯ มาตรา 12 มาตรา 14


ลดอัตราอากร พหุภาคี : WTO
ภาค 2 : 999 โดยมีเงื่อนไข : 2xx AF1 : ACN

มาตรา 12 มาตรา 12 มาตรา 14


ลดอัตราอากร/ยกเว้ น ยกเว้ นอากร ทวิภาคี : TAU
เป็ นการทัว่ ไป : 000 โดยมีเงื่อนไข : 3xx TZN : TJ1

AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
วันนาเข้ าสาเร็จ>วันชาระภาษี >ใช้ ราคา CIF
“ทางไปรษณีย์” วันที่ได้ เปิ ดถุงไปรษณีย์

“ทางอากาศยาน” วันที่อากาศยานลงถึงพืน้ ดิน

“ทางรถไฟ” วันที่รถไฟเข้ ามาในเขตราชอาณาจักรไทย

“ทางรถยนต์ ” วันที่รถยนต์ เข้ ามาถึง ๑.ด่ านพรมแดน


๒.ด่ านศุลกากร

“ทางเรื อ”วันที่เรือได้ เข้ ามา “ในเขตท่ า”


๑.ที่จะถ่ ายของจากเรื อ
๒.ที่มีช่ ือส่ งของถึง
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
คานวณตามพิกัดอัตราศุลกากรที่ใช้ อยู่ใน
เวลาซึ่งปล่ อยของออกไปจากคลังสินค้ า
ทัณฑ์ บน ไม่ ว่าในสภาพเดิม หรือสภาพอื่น

รายละเอียดแห่ งของซึ่ง ยกเว้ นการเก็บอากรขาเข้ าและอากรขา


เจ้ าหน้ าที่ได้ จดไว้ ในเวลาที่ ออกแก่ ของปล่ อยออกจากคลังสินค้ า
นาของเข้ าเก็บใน ทัณฑ์ บน เพื่อส่ งออกนอก
คลังสินคาทัณฑ์ บนให้ ใช้ ราชอาณาจักร
สาหรับประเมินอาการ ทัง้ นีไ้ ม่ ว่าสภาพเดิมหรือสภาพอื่น
AJ.Teewara Buchaiyaphum
คานวณค่ าภาษี ตาม สภาพของ ราคา
ของ และพิกัดอัตราศุลกากร ที่เป็ นอยู่ใน
เวลาปล่ อยของออกจากเขตปลอดอากร
กรณีนาของไม่ มีสิทธิคืนหรือยกเว้ นอากรที่มี
อยู่ในราชอาณาจักรเข้ าไปในเขตปลอดอากร
ไม่ ต้องนาราคาของมาคานวณค่ าภาษี
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ของที่นาเข้ าไปในเขตประกอบการเสรี
ได้ รับสิทธิประโยชน์ ทางอากร
เช่ นเดียวกับของที่นาเข้ าไปในเขต
ปลอดอากรตามกฎหมายว่ าด้ วย
ศุลกากร

AJ.Teewara Buchaiyaphum
คานวณค่ าภาษีท่ เี ป็ นอยู่ในเวลาแห่ ง
ความรับผิดในอันที่จะต้ องเสียอากร
เกิดขึน้ ได้ แก่ (1) เวลาโอน
(2) เวลาที่นาไปใช้ ในการอื่น
(3) เวลาที่สิทธิได้ รับยกเว้ นหรือ
ลดหย่ อนอากรสิน้ สุดลง

AJ.Teewara Buchaiyaphum
โดยวิธีทาง อิเล็กทรอนิกส์ ณ ท่ า / ที่ /
สนามบิน ระบุในบัญชีสินค้ า มีช่ ือส่ งของถึง

ต่ อเนื่องและเป็ นประโยชน์ ในการผ่ านพิธีการ


นาของเข้ าเก็บในคลังทัณฑ์ บน เขตปลอดอากร
เขตอุตสาหกรรมส่ งออก
*เตรียมและจัดส่ งข้ อมูลใบขน ตรวจสอบเบือ้ งต้ นกับ แจ้ งข้ อมูลตัด
สินค้ าขาเข้ าจาก Invoice บัญชีสินค้ าหรือ/การ บัญชีธนาคาร
อนุมัต/ิ อนุญาต
Response Message
/กาหนดเลขที่ใบขน
สินค้ า/ ตอบกลับ
ข้ อผิดพลาด
ตอบกลับเลขที่ชาระ/
วางประกัน/ ยกเว้ น
เปลี่ยนสถานะใบขนฯโดยอัตโนมัติ
ระบบคอมฯ ออกเลขที่ใบขนฯแล้ ว ผู้นาเข้ าไม่ สามารถส่ งข้ อมูลแก้ ไขใบขนฯได้
AJ.Teewara Buchaiyaphum
1 การรับของจากอารักขาศุลกากร

eb-XML eb-XML

รั บข้ อมูลและ แจ้ งผลตัดบัญชี


ตัดบัญชีสินค้ า ตัดบัญชีสินค้ า สินค้ า

Response Message Response Message

AJ.Teewara Buchaiyaphum
2

แจ้ งเลขที่ B/L

ติดต่ อรับสินค้ า ตรวจสอบและ


ส่ งมอบสินค้ าให้ ตรง
ตามข้ อมูลสั่งปล่ อย
กรณีไม่ ตรงหรือ
สงสัย

AJ.Teewara Buchaiyaphum
3 กรณีสั่งตรวจสอบพิกดั ราคา และของ

ติดต่ อเพื่อ เตรียมของเพื่อ เมื่อรับทราบว่ า


ตรวจสินค้ า ศุลกากรตรวจ เตรียมของแล้ ว

กาหนดชื่อ จนท.
จนท.บันทึกตรวจ ระบบตอบกลับ
ผู้ส่งข้ อมูล เพื่อติดต่ อรับของ
ตรวจสอบราคา
พิกัด และของ
AJ.Teewara Buchaiyaphum
แจ้ งก่ อนนาออก
กรณีสงสัยหรือพบ ตรวจสอบ
ของไม่ ตรงตาม
สาแดงก่ อน
นาออกไปของ รพส.

AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
Partin Seangthai
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
รหัสสิ ทธิพเิ ศษ(privilege code)
รหัส 999ตาม
รหัส 000 พรก. พิกดั ฯ
ตาม ม.12

AJ.Teewara Buchaiyaphum
รหัสสิ ทธิพเิ ศษ(privilege code)

AJ.Teewara Buchaiyaphum
รหัสสิ ทธิพเิ ศษ(privilege code)

AJ.Teewara Buchaiyaphum
เชื่อมโยงข้ อมูลกับหน่ วยงานอื่น

ใบอนุญาตก่ อนนาของเข้ า/ก่ อนส่ งของออก สาแดง


เลขที่&วันที่ในช่ อง Permit ทุกรายการ

ตามประกาศ ก.คลังและระเบียบของหน่ วยงานที่กาหนดไว้


เช่ น Form D /หนังสือของ BOI /เลขอนุมัตขิ อง
หน่ วยงานต่ างๆ
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทรหัส
อากรขาเข้ า 0100
อากรพิเศษ 1050
ค่ าธรรมเนียมพิเศษ พรบ.ส่ งเสริมการลงทุน 0110
ค่ าอากรตอนโต้ การทุ่มตลาดและการอุดหนุน0111
ภาษีสรรพสามิต 0300
ภาษีเพื่อมหาดไทย 0400
ภาษีมูลค่ าเพิ่ม 0500
ภาษีอ่ นื ๆ 0600
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ประเภทรหัส
ค่ าธรรมเนียมพิเศษกระทรวงพาณิชย์ 0603
กองทุนนา้ มันเชือ้ เพลิง
1401
กองทุนเพื่อส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน 1404
เงินบารุ งกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้ างสุขภาพ (สุรา)
1412
เงินบารุ งกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้ างสุขภาพ (ยาสูบ)
1414
เงินบารุ งองค์ การของ สสท. (สุรา)
1416
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อความการผิดพลาด คาอธิบาย
INVALID DOCUMENT TYPE “ชนิด/ประเภทเอกสาร ไม่ ถูกต้ อง”
MANAGER NAME MUST BE “ต้ องระบุช่ ือผู้จดั การหรื อผู้มอบ
ENTERED อานาจ”
INVALID MANAGER NO “เลขที่บัตรประจาตัวประชาชนของ
ผู้จดั การ
หรื อผู้รับมอบอานาจไม่ ถูกต้ อง”

COMPANY NOT BROKER “บริษัทตัวแทนออกของไม่ ได้ รับ


CLIENT อนุญาตในการส่ งข้ อมูลของผู้นาเข้ า”

ประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550
การลงทะเบียนเป็ นผู้ผ่านพิธีการศุลกากร
หรื อดาเนินการในกระบวนการทางศุลกากร
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อความความผิดพลาด คาอธิบาย
INALID CURRENCY CODE สกุลเงินตราไม่ ถูกต้ อง

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อความความผิดพลาด. คาอธิบาย
INVALID PACKAGE UNIT CODE “ลักษณะหีบห่ อไม่ ถูกต้ อง”
WEIGHT UNIT MUST BE “หน่ วยของนา้ หนักจะต้ องเป็ น
KGM,TNE,CTM,GRM KGM,TNE,CTM,GRM”
QUANTITY UNIT MUST EQUAL “หน่ วยปริมาณต้ องสัมพันธ์ กับรหัสหน่ วย
STATISTICAL UNIT CODE สถิต”ิ

AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อความความผิดพลาด คาอธิบาย
PAYMENT METHOD วิธีการชาระเงินต้ องเป็ น A,H,L…
MUST BE
A,H,L…
CIF VALUE BAHT มูลค่ า CIF เงินบาทไม่ ถูกต้ อง
INCORRECT
VAT AMOUNT หมายเลข Reference ได้ รับเลขที่ใบขน
INCORRECT สิ นค้ าแล้ วไม่ สามารถนามาใช้ ได้ อกี

ITEM ALREADY EXISTS หมายเลข Referenceได้ รับเลขที่ใบขน


สิ นค้ าแล้ วไม่ สามารถนามาใช้ ได้ อกี
BL HOUSE ALREADY Manifest ได้ ถูกใช้ โดยใบขนสิ นค้ า
MAP อื่นแล้ ว
AJ.Teewara Buchaiyaphum
ข้ อความความผิดพลาด คาอธิบาย

INVALID  ...ไม่ ถูกต้ อง


MUST BE ENTERED  ต้ องระบุ

MUST BE …..  ต้ องเป็ น...


INCORRECT  ไม่ ถูกต้ อง
INCORRECT  ไม่ ถูกต้ อง

AJ.Teewara Buchaiyaphum
2.Import Document
3.1 ขัน้ ตอนการจองรถขนส่ ง

INWARD

MARSHALLING YARD AND CFS

IMPORT CY EMPTY CY IMPORT CFS

CONSIGNEE SHIPPER
ICD

OFF DOCK

MARSHALLING YARD AND CFS

OUTWARD
EMPTY
LADEN

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.1 ขัน้ ตอนการจองรถขนส่ ง

INWARD

MARSHALLING YARD AND CFS

IMPORT CY EMPTY CY IMPORT CFS

CONSIGNEE SHIPPER
ICD

OFF DOCK

MARSHALLING YARD AND CFS

OUTWARD
EMPTY
LADEN
ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.1 ขัน้ ตอนการนาตู้สินค้ าขาเข้ าออกจากท่ าเรื อ

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.2 ประเภทรถบรรทุก
• รถบรรทุกในประเทศไทย
• เกณฑ์ นา้ หนักบรรทุก
• รถกึ่งพ่ วงแบบพิเศษ (B-Double)
• รถห้ องเย็น
• รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์
• รถบรรทุกวัตถุอันตราย
3.2.1 ประเภทรถกระบะบรรทุก
3.2.2 รถตู้บรรทุก
3.2.3 รถบรรทุกของเหลว

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.2.4 รถบรรทุกวัตถุอันตราย

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.2.5 รถบรรทุกเฉพาะกิจ

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.2.6 รถกึ่งพ่ วง

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.2.7 รถบรรทุกวัตถุอันตราย
3.2.8 รถพ่ วง

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
3.2.9 รถหัวลาก
ลักษณะขนาดสัดส่ วนรถกระบะบรรทุก รถตู้บรรทุก รถบรรทุก
ของเหลว ถบรรทุกวัสดุอันตรายและรถลากจูง
รถพ่ วงกระบะบรรทุกมีกระบะข้ าง
รถกึ่งพ่ วง

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
นา้ หนักบรรทุกของรถแต่ ละประเภท

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
รถกึ่งพ่ วง (SEMI-TRAILER)
รถกึ่งพ่ วง (SEMI-TRAILER)
รถห้ องเย็น
รถห้ องเย็น
รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ (Container Truck)
รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ (Container Truck)
รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ (Container Truck)
รถบรรทุกวัตถุอันตราย
รถบรรทุกวัตถุอันตราย
ข้ อได้ เปรียบของรถบรรทุก (Advantages of Carriers)
ขัน ิ ค ้าขาเข ้าออกจากท่าเรือ
้ ตอนการนาตู ้สน
ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง
4.1. ใบขนสินค้ าขาเข้ า กศก.99/1

อ.ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
4.2 ใบขนสินค้ าขาเข้ าพิเศษ กศก.102
(แบบแสดงภาษีสรรพสามิตและภาษีมลู ค่าเพิ่ม)

อ.ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
4.3 ใบขนพิเศษสาหรับเรือสาราญและกีฬาที่นาเข้ าหรือนาออกชัว่ โมง

อ.ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
4.4 ใบขนพิเศษสาหรับรถยนต์และจักรยานยนต์
นาเข้ าหรื อนาออกชัว่ คราว

อ.ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
5. ขั้นตอนการยื่น MANIFEST/ CNTR. LTST Work in process (WP)
5.1

ดร.ชุติมาพร หมอนใหญ่
6. พิกดั ศุลกากร

ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง
7. ข้อตกลงในการสง ่ มอบสน
ิ ค้าระหว่างประเทศ
หรือเทอมการค้าสากล (INCOTERMS)

ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง
INCOTERMS

Inco-Term ย่อมาจาก International Commercial Termsอินโคเทอม (Incoterms) เป็ น


ข ้อกาหนดของสภาหอการค ้านานาชาติ (International Chamber of Commerce : ICC) ที่
กาหนดความหมายของคาเฉพาะทางการค ้า (trade term) เพือ ่ ใชส้ าหรับการค ้าระหว่างประเทศ
แต่ก็สามารถนาไปใชในการท ้ ั ญาซอ
าสญ ื้ ขายภายในได ้ด ้วย อินโคเทอมให ้ความหมายและบ่ง
บอกถึงหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบของผู ้ขายผู ้ซอ ื้ ใน การจัดสง่ สน
ิ ค ้า ตลอดจนค่าใชจ่้ าย และความ
เสย ี่ งภัย ซงึ่ ชว่ ยอานวยความสะดวกให ้ผู ้ซอ ื้ และผู ้ขายในการทาสญ ั ญาซอ ื้ ขาย เพราะเพียงระบุ
เทอมของการซอ ื้ ขายตามอินโคเทอมไว ้ในสญ ั ญาซอื้ ขาย โดยไม่ต ้องบรรยายรายละเอียด
้ ตอนความรับผิดชอบในการจัดสง่ สน
ขัน ิ ค ้า ค่าใชจ่้ ายและความเสย ี่ งภัยลงไว ้ในสญ ั ญาซอ ื้ ขาย ก็
ถือว่าเป็ นการตกลงทีเ่ ข ้าใจและรับรู ้กันว่าผู ้ขายมีหน ้าทีร่ ับผิดชอบอย่าง ไรในการจัดสง่ สน ิ ค ้า
และต ้องรับภาระค่าใชจ่้ ายในการสง่ สน ิ ค ้าเพียงใด ถึงจุดใด ความเสย ี่ งภัยต่อความสูญเสย ี หรือ
ความเสย ี หายของสน ิ ค ้าทีซ ื้ ขายกันจะโอนจาก ผู ้ขายไปยังผู ้ซอ
่ อ ื้ เมือ ่ ใด โดยมีการนาเทอมตาม
อินโคเทอมไปใชในการท ้ าสญ ั ญาซอ ื้ ขายสน ิ ค ้าบางประเภทกันมาก ทั่วโลก

ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง
INCOTERMS
INCOTERMS

อินโคเทอมมีการจัดพิมพ์ครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ.1936) และมีการปรับปรุงแก ้ไขตลอดมา


หลายครัง้ อินโคเทอมทีใ่ ชอยู้ ล่ า่ สุดก่อนการประกาศใช ้ Incoterms 2010 คือ Incoterms 2000
ซงึ่ มีการกาหนดคาเฉพาะทางการค ้าไว ้ 13 เทอม แบ่งเป็ น 4 กลุม ่ คือ
กลุม ่ E มีเทอมเดียว คือ EXW (Ex Works)
กลุม ่ F มี 3 เทอม คือ FAC (Free Carrier), FAS (Free Alongside Ship), และ FOB (Free On
Board)
กลุม ่ C มี 4 เทอม คือ CFR (Cost And Freight), CIF (Cost, Insurance and Freight), CPT
(Carriage Paid To) และ CIP (Carriage And Insurance Paid To) เป็ นกลุม ่ ผู ้ขายต ้อง
รับผิดชอบในการขนสง่ ด ้วย
กลุม ่ D มี 5 เทอม คือ DAF (Delivered At Frontier), DES (Delivery Ex Ship), DEQ
(Delivered Ex Quay), DDU (Delivered Duty Unpaid) และ DDP (Delivered Duty Unpaid)
INCOTERMS
INCOTERMS ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง

GROUP TERM STANDS FOR


E EX Exwork
EXW {+ the named place}

่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน


เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ
่ ผู ้ขายได ้เตรียมสน ิ ค ้า
ไว ้พร ้อมสาหรับสง่ มอบให ้กับผู ้ซอ ื้ ณ. สถานทีข ่ องผู ้ขายเอง โดยผู ้ซอ ื้ จะต ้อง
รับผิดชอบค่าใชจ่้ ายต่างๆ ในการขนสง่ สน ิ ค ้าไปยังคลังสน ิ ค ้าของผู ้ซอ ื้ เอง
เชน ่ EXT Bangkok, Thailand
INCOTERMS
INCOTERMS

GROUP TERM STANDS FOR


FOB FREE ON BORD
F FCA Free Carrier

FAS Free Alongside Ship

FOB {+ the named port of origin}


Free On Board
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้า เมือ
่ ผู ้ขายได ้สง่ มอบสน
ิ ค ้า
ข ้ามกาบเรือขึน
้ ไปบนเรือสน ิ ค ้า ณ ท่าเรือต ้นทางทีร่ ะบุไว ้ ผู ้ขายเป็ นผู ้รับผิดชอบการทาพิธ ี
การสง่ ออกด ้วย สว่ นค่าใชจ่้ ายในการขนสง่ สน ิ ค ้า และค่าใชจ่้ ายอืน่ ๆ รวมทัง้ ความเสย ี่ งภัย
ในการขนสง่ สน ิ ค ้าเป็ นภาระของผู ้ซอ ื้ ในทันทีทข
ี่ องผ่านกาบระวางเรือไปแล ้ว
่ FOB Bangkok, Thailand
เชน
INCOTERMS
INCOTERMS

ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง
INCOTERMS
INCOTERMS

FCA {+ the named point of departure}


Free Carrier
เงือ ่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้า เมือ
่ ผู ้ขายได ้ สง่ มอบสน ิ ค ้าให ้กับ
ผู ้รับขนสง่ ทีร่ ะบุโดยผู ้ซอ
ื้ ณ สถานทีข ่ องผู ้รับขนสง่ ที่ ผู ้ขายต ้องทาพิธก ี ารสง่ ออกรับผิดชอบ
ค่าใชจ่้ ายในการขนสง่ สน ิ ค ้า และความเสย ี่ งภัยระหว่างการขนสง่ จากสถานทีข ่ องผู ้ขายจนกระทั่ง
ถึงสถานทีข ่ องผู ้รับขนสง่ ฯ สว่ นค่าใชจ่้ ายต่าง ๆ ในการขนสน ิ ค ้าและความเสย ี่ งภัยต่าง ๆไปยัง
จุดหมายปลายทาง เป็ นของผู ้ซอ ื้
เชน ่ FCA Sea Land, Bangkok

FAS {+ the named port of origin}


Free Alongside Ship Goods are placed in the dock shed or at the side of the ship, on
the dock or lighter
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้า เมือ
่ ผู ้ขายได ้นาสน ิ ค ้าไปยังกาบเรือ
ณ ท่าเรือต ้นทางทีร่ ะบุไว ้ สว่ นค่าใชจ่้ ายในการนา ของขึน ้ เรือ ค่าใชจ่้ ายในการขนสง่ สน ิ ค ้า ความ
เสย ี่ งภัยในการนาของขึน ้ เรือและระหว่างการขนสง่ เป็ นภาระของผู ้ซอ ื้ ในทันทีทส ิ ค ้าถูกสง่ มอบ
ี่ น
ไปยังกาบเรือ และผู ้ซอ ื้ ต ้องรับผิดชอบการทาพิธก ี ารสง่ ออกด ้วย
INCOTERMS
INCOTERMS

GROUP TERM STANDS FOR


C&R Cost and Freight
C CIF
Cost, Insurance and
Freight
CPT Carriage Paid To
Carriage and Insurance
CIP
Paid To
INCOTERMS
INCOTERMS

C&R {+ the named port of destination}


Cost and Freight
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ ่ ผู ้ขายได ้สง่ มอบสน ิ ค ้าข ้ามกาบ
เรือขึน้ ไปบนเรือสน ิ ค ้า ผู ้ขายเป็ นผู ้รับผิดชอบในการทาพิธก ี ารสง่ ออก และจ่ายค่าระวางขนสง่
สนิ ค ้า สว่ นค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆรวมทัง้ ความเสย ี่ งภัยในการขนสง่ สน ิ ค ้าเป็ นภาระของผู ้ซอ ื้ ในทันทีท ี่
ของผ่านกาบระวางเรือไปแล ้ว
เชน่ CFR Tokyo, Japan
CIF {+ the named port of destination}
Cost, Insurance and Freight
เงือ่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ ่ ผู ้ขายได ้สง่ มอบสน ิ ค ้าข ้ามกาบ
เรือขึน ้ ไปบนเรือสน ิ ค ้า ผู ้ขายเป็ นผู ้รับผิดชอบในการทาพิธก ี ารสง่ ออกจ่ายค่าระวางเรือ และค่า
ประกันภัยขนสง่ สน ิ ค ้าเพือ ่ คุ ้มครองความเสย ี่ งภัยใน การขนสง่ สน ิ ค ้าจนถึงมือผู ้ซอ
ื้ ให ้แก่ผู ้ซอ
ื้ ด ้วย
เชน ่ CIF Tokyo, Japan
INCOTERMS
INCOTERMS

CPT {+ the named place of destination}


Carriage Paid To
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ
่ ผู ้ขายได ้สง่ มอบสน ิ ค ้าให ้ผู ้รับ
ขนสง่ ทีร่ ะบุโดยผู ้ซอื้ ณ สถานทีข ่ องผู ้รับขนสง่ สน ิ ค ้าทีเ่ มืองท่าต ้นทาง ผู ้ขายเป็ นผู ้รับผิดชอบใน
การทาพิธก ี ารสง่ ออกและจ่ายค่าระวางขนสง่ สน ิ ค ้า สว่ นค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆ รวมทัง้ ความเสย ี่ งภัยใน
การขนสง่ เป็ นภาระของผู ้ซอ ื้ ในทันทีทส ี่ น ิ ค ้าถูกสง่ มอบให ้แก่ผู ้รับขนสง่ สน ิ ค ้าทีเ่ มืองท่าต ้นทาง
เชน ่ CPT Tokyo, Japan

CIP {+ the named place of destination}


Carriage and Insurance Paid To
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ
่ ผู ้ขายได ้สง่ มอบสน ิ ค ้าให ้ผู ้รับ
ขนสง่ ทีร่ ะบุโดยผู ้ซอื้ ณ สถานทีข ่ องผู ้รับขนสง่ สน ิ ค ้าทีเ่ มืองท่าต ้นทาง ผู ้ขายเป็ นผู ้รับผิดชอบใน
การทาพิธก ี ารสง่ ออก จ่ายค่าระวางขนสง่ สน ิ ค ้า และค่าประกันภัยขนสง่ สน ิ ค ้า เพือ
่ คุ ้มครองความ
เสย ี่ งภัยในการขนสง่ สน ิ ค ้าจนถึงมือผู ้ซอ ื้ ให ้แก่ผู ้ซอื้ ด ้วย
่ CIP Tokyo, Japan
เชน
INCOTERMS
INCOTERMS

GROUP TERM STANDS FOR


DDU Delivered Duty Unpaid

DDP Delivered Duty Paid

D DAF Delivered At Front

DES Delivered Ex Ship

DEQ Delivered Ex Quay


INCOTERMS
INCOTERMS

DDU {+ the named point of destination}


Delivered Duty Unpaid (Door to Door)
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้า เมือ
่ ผู ้ขายได ้จัดให ้สน ิ ค ้าพร ้อมสง่
มอบ ณ สถานทีป ่ ลายทางของผู ้ซอ ื้ ผู ้ขายจึงเป็ นผู ้รับผิดชอบการทาพิธก ี ารสง่ ออก จ่ายค่าระวาง
ขนสง่ สนิ ค ้า ค่าประกันภัยขนสง่ สน ิ ค ้าและเป็ นผู ้รับผิดชอบค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆ รวมทัง้ ค่าใชจ่้ ายในการ
นาของลงจากเรือและค่าขนสง่ สน ิ ค ้าไปยังสถานทีท ่ ผ ี่ ู ้ซอื้ ระบุไว ้จนกระทั่งสน ิ ค ้าพร ้อมสง่ มอบ ณ
สถานทีป ่ ลายทางของผู ้ซอ ื้ ผู ้ขายต ้องเป็ นผู ้ดาเนินพิธก ี ารนาเข ้าสน ิ ค ้าให ้แก่ผู ้ซอ
ื้ ด ้วย แต่ผู ้ซอื้
ต ้องจ่ายค่าภาษี นาเข ้าเอง

DDP {+ the named point of destination}


Delivered Duty Paid (Door to Door)
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ ่ ผู ้ขายได ้จัดให ้สน ิ ค ้าพร ้อมสง่
มอบ ณ สถานทีป ่ ลายทางของผู ้ซอื้ ซงึ่ ผู ้ขายเป็ นผู ้รับผิดชอบการทาพิธก ี ารสง่ ออก จ่ายค่าระวาง
ขนสง่ สนิ ค ้า ค่าประกันภัยขนสง่ สน ิ ค ้า และเป็ นผู ้รับผิดชอบค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆ รวมทัง้ ค่าใชจ่้ ายใน
การนาของลงจากเรือและค่าขนสง่ สน ิ ค ้าไปยังสถานทีท ่ ผ ื้ ระบุไว ้ จนกระทั่งสน
ี่ ู ้ซอ ิ ค ้าพร ้อมสง่ มอบ
ณ สถานทีป ่ ลายทาง ผู ้ขายต ้องเป็ นผู ้ดาเนินพิธก ี ารนาเข ้าสน ิ ค ้าให ้แก่ผู ้ซอ
ื้ และเป็ นผู ้จ่ายค่าภาษี
นาเข ้าแทนผู ้ซอ ื้ ด ้วย
INCOTERMS
INCOTERMS

DAF {+ the named point at frontier}


Delivered At Frontier
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าตามสญ
ั ญาก็ตอ
่ เมือ
่ ผู ้ขายได ้จัดให ้
สนิ ค ้าพร ้อมสาหรับการสง่ มอบและได ้ทาพิธก ี ารสง่ ออก ณ พรมแดน ทีร่ ะบุโดยผู ้ซอ ื้
เชน ่ DAF Nongkhai, Thailand

DES {+ the named port of destination}


Delivered Ex Ship
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ
่ ผู ้ขายได ้จัดให ้สน ิ ค ้าพร ้อมสง่
มอบบนเรือ ณ ท่าเรือปลายทาง ดังนัน ้ ผู ้ขายจึงเป็ นผู ้รับผิดชอบการทาพิธก ี ารสง่ ออกจ่ายค่า
ระวางขนสง่ สน ิ ค่า ค่าประกันภัยขนสง่ สนิ ค ้า และเป็ นผู ้รับผิดชอบ ค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆ จนกระทั่งสน ิ ค ้า
พร ้อมสง่ มอบบนเรือทีเ่ มืองท่าปลายทาง โดยผู ้ซอ ื้ จะต ้องดาเนินพิธก ี ารนาเข ้าสน ิ ค ้าเอง
เชน ่ DES Tokyo, Japan
INCOTERMS
INCOTERMS

DEQ {+ the named port of destination}


Delivered Ex Quay
่ นไขการสง่ มอบนี้ ผู ้ขายจะสน
เงือ ิ้ สุดภาระการสง่ มอบสน ิ ค ้าเมือ ่ ผู ้ขายพร ้อมสง่ มอบสน ิ ค ้า ณ
ท่าเรือปลายทาง ดังนัน ้ ผู ้ขายจึงเป็ นผู ้รับผิดชอบการทาพิธก ี ารสง่ ออก จ่ายค่าระวางขนสง่ สน ิ ค ้า
ค่าประกันภัยขนสง่ สน ิ ค ้า และเป็ นผู ้รับผิดชอบ ค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆ จนกระทั่งสน ิ ค ้าพร ้อมสง่ มอบ ณ
ท่าเรือปลายทาง ผู ้ขายจะต ้องเป็ นผู ้ดาเนินพิธก ี ารนาเข ้าสน ิ ค ้าให ้แก่ผู ้ซอื้ ด ้วย เงือ
่ นไขการสง่
มอบนีผ ื้ จะระบุให ้ผู ้ขายเป็ นผู ้จ่ายภาษี นาเข ้าแทนผู ้ซอ
้ ู ้ซอ ื้ ด ้วยหรือไม่กไ ็ ด ้ โดยการระบุตอ ่ ท ้ายว่า
Duty Paid หรือ Duty Unpaid สว่ นค่าใชจ่้ ายในการขนสน ิ ค ้าจากท่าเรือไปยังสถานทีข ื้
่ องผู ้ซอ
เป็ นภาระของผู ้ซอ ื้
INCOTERMS
INCOTERMS
INCOTERMS
INCOTERMS
INCOTERMS
• หลังจากใช ้ Incoterms 2000 มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2543 จนถึง ปี พ.ศ. 2551 ทางหอการค ้า
นานาชาติก็เริม ่ พิจารณาแก ้ไขปรับปรุง Incoterms 2000 เหตุผลทีต ่ ้องมีการแก ้ไขปรับปรุงตาม
ถ ้อยแถลงของประธานหอการค ้านานาชาติ ประการหนึง่ คือ มีการนาอินโคเทอมบางเทอมไปใช ้
อย่างผิดความหมาย มีการแปลความแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ทาให ้เกิดข ้อพิพาทและมีการ
ฟ้ องร ้องกันเกิดขึน ้ และตามเอกสารของหอการค ้านานาชาติก็ได ้ระบุถงึ ความจาเป็ นในการ
ปรับปรุงแก ้ไข เพือ ่ ให ้สอดคล ้องกับข ้อปฏิบต ั ทิ างการค ้า เทคโนโลยี และการสอ ื่ สารทาง
อิเล็กทรอนิกสท ์ พ
ี่ ัฒนาเปลีย ่ นแปลงไปตามกาลสมัย อินโคเทอมฉบับใหม่ให ้ความสาคัญกับ
ความปลอดภัยของสน ิ ค ้า และการทีส ่ หรัฐอเมริกาได ้แก ้ไขกฎหมายทางการค ้าเมือ ่ พ.ศ. 2547
ทีไ่ ด ้ยกเลิกบทบัญญัตเิ กีย ่ วกับเทอมการสง่ สน ิ ค ้า (US shipment and delivery terms) และให ้
สามารถรองรับเขตการค ้าเสรี เชน ่ กรณีของสหภาพยุโรปด ้วย
• สงิ่ ใหม่ของ Incoterms 2010 คือ ลดเทอมการค้าทีก ่ าหนดไว้ตาม Incoterms 2000 จาก
13 เทอม เหลือ 11 เทอม เป็นเทอมตาม Incoterms 2000 เดิม 9 เทอม เป็นเทอมใหม่
2 เทอมและจากเดิมแยกกลุม ่ เป็ น 4 กลุม
่ เหลือเพียง 2 กลุม ่ โดยแยกตามโหมดของการขนสง่
เป็ นสองโหมด คือโหมดการขนสง่ ใดๆ ทีไ่ ม่ใชก ่ ารขนสง่ ทางเรือเป็ นหลัก ซงึ่ หากมีการขนสง่ ทาง
เรือก็เป็ นเพียงสว่ นหนึง่ ของการขนสง่ เท่านัน ้ และโหมดการขนสง่ ทางทะเลและทางลาน้ า
INCOTERMS
INCOTERMS

โหมดการขนสง่ ทีไ่ ม่ใชก


่ ารขนสง่ ทางเรือ มีทงั ้ หมด 7 เทอม ประกอบด ้วยเทอมเก่าคือ
EXW (Ex Works)
FAC (Free Carrier)
CPT (Carriage Paid To)
CIP (Carriage And Insurance Paid To)
DAT (Delivered At Terminal )
DAP (Delivered At Place)
DDP (Delivered Duty Unpaid)
อีกโหมดหนึง่ คือการขนสง่ ทางทะเลและทางลาน้ า ประกอบด ้วย 4 เทอมเก่าคือ
FAS (Free Alongside Ship),
FOB (Free On Board), CFR (Cost And Freight)
CIF (Cost, Insurance and Freight)
INCOTERMS
INCOTERMS

DAT (Delivered At Terminal) เป็ นเทอมใหม่ แทน DEQ (Delivered Ex Quay)


จากข ้อมูลเบือ ้ งต ้น เทอม DAT สามารถใชกั้ บการขนสง่ แบบใดก็ได ้รวมทัง้ ใชได ้ ้กับการขนสง่ ที่
ต ้องใชทั้ ง้ สอง โหมด สาหรับการสง่ มอบสน ิ ค ้านัน้ ถือว่าผู ้ขายได ้สง่ มอบสน
ิ ค ้า เมือ
่ มีการขนถ่าย
สนิ ค ้าลงจากยานพาหนะทีบ ่ รรทุก ไปไว ้ยังทีท
่ ผ ื้ จัดไว ้ ณ อาคารขนถ่ายสน
ี่ ู ้ซอ ิ ค ้า ในท่าเรือหรือ
ปลายทางตามทีร่ ะบุไว ้

DAP (Delivered At Place) เป็ นเทอมใหม่แทน DAF (Delivered At Frontier), DES


(Delivery Ex Ship), DEQ (Delivered Ex Quay) และ DDU (Delivered Duty
Unpaid) ซงึ่ ทางหอการค ้านานาชาติเห็นว่า เทอมเดิมทัง้ สเี่ ทอมดังกล่าวค่อนข ้างคล ้ายกันมาก
แตกต่างกันเพียงเล็กน ้อย จึงยุบรวมกันเพือ่ ให ้เกิดความสะดวกยิง่ ขึน
้ และตามข ้อมูลเบือ
้ งต ้น
ผู ้ขายตามเทอม DAP จะต ้องรับผิดชอบในค่าใชจ่้ ายต่าง ยกเว ้นค่าภาษี และพิธก ี ารนาเข ้า และ
ี่ งภัย จนสน
ต ้องรับความเสย ิ ค ้าถึงจุดหมายปลายทาง
INCOTERMS
INCOTERMS
บรรณานุกรม
• http://www.gurutransport.com/thai/incoterms.html
• http://www.gotoknow.org/posts/450187
• http://bit.ly/dEQKmn

ดร.นฤมล ศรี บญ
ุ เรื อง
การตรวจปล่อยสิ นค้าขาเข้า
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การนาของเข้ ามาในราชอาณาจักร
ขั้นตอนการนาของเข้า
1. รายงานเรื อเข้าตามเงื่อนไขของ มาตรา38 แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร
พ.ศ. 2469
2. ขนถ่ายของนาเข้าที่ทาเนียบท่าเรื อ หรื อที่ที่ได้รับอนุมตั ิ
3. จัดทาใบขนสิ นค้าตรวจปล่อยและนาของออกจากอารักขาของ
ศุลกากร

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
รายงานเรื อเข้ ามาในราชอาณาจักร
• 1. ก่อนนาเรื อเข้ามาในราชอาณาจักร ตัวแทนเรื อจัดทาข้อมูลรายงานเรื อ
เข้าและขอเปิ ดระวางเรื อ โดยส่ งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เข้าสู่ ระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากรและให้ถือว่าเป็ นการยืน่ เอกสารใบแนบ 1 ใน
การรายงานเรื อเข้า

• 2. คอมพิวเตอร์ของศุลกากรรับข้อมูลรายงานเรื อเข้าแล้วจะแจ้งเลขที่ รับ


รายงานเรื อเข้าให้ผสู ้ ่ งข้อมูลทราบเรื อถือเป็ นการอนุญาตพิเศษให้เปิ ด
ระวางเรื อ ถือเป็ นการอนุญาตพิเศษให้เปิ ดระวางเรื อเพื่อขนถ่ายของได้
ทันที

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
• 3. ให้ตวั แทนเรื อ จัดทาข้อมูลบัญชีสินค้าสาหรับเรื อตามแบบที่ศุลกากร
กาหนด ส่ งเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรภายใน 24 ชัว่ โมง นับ
แต่ได้รับรายการรายงานเรื อเข้าสาเร็ จและให้แยกบัญชีต่างๆให้ถูกต้อง
ครบถ้วน

• 4. ภายในกาหนด 24 ชัว่ โมงนับแต่ได้รับรายงานการรายงานเรื อเข้า


สาเร็ จ ตัวแทนเรื อสามารถแก้ไขบัญชีสินค้าสาหรับเรื อได้โดยไม่ตอ้ ง
พิจารณาความผิด

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
• 5. ถ้ามิได้รายงานเรื อเข้าโดยส่ งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ตวั แทนเรื อ
จัดทาบัญชี และเอกสารประกอบรู ปเอกสารประกอบในรู ปเอกสารยืน่
ต่อหน่วยควบคุมการขนถ่าย ภายใน 24 ชัว่ โมง นับแต่เรื อมาถึงท่าที่จะ
ขนถ่ายของ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
บัญชีสาหรับเรื อ Manifest ต้ องแยกให้ ชดั เจน ได้ แก่

– 1. บัญชีสินค้าถ่ายลา ( Transhipment cargo )


– 2. บัญชีสินค้าผ่านแดน ( Transit cargo )
– 3. บัญชีสิคา้ ขนขึ้นนาเข้า ( Inward cargo )
– 4. บัญชีสินค้าติดเรื อ ( Throurh cargo )
– 5. บัญชีตูส้ ิ นค้า ( Container list )
– 6. บัญชีคนโดยสาร , ของใช้ประจาเรื อและอื่นๆ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
รายละเอียดของบัญชีสินค้ าสาหรับเรื อ
– 1. B/L ตรงกับรายการของทุกอย่างที่บรรทุกมากับเรื อ
– 2. เครื่ องหมายเลขหมายหี บห่อและเครื่ องหมายเลขประจาตูค้ อน
เทรนเนอร์
– 3. จานวนหี บห่อและตูค้ อนเทรนเนอร์
– 4. ชนิด ปริ มาณ และน้ าหนักของสิ นค้า
– 5. ชื่อผูส้ ่ ง ( Shipper )
– 6. ชื่อผูร้ ับตราส่ ง ( Consignee)

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การขนถ่ายของนาเข้ าจากเรื อ
• 1. ขนถ่ายของขึ ้นเก็บที่ทาเนียบท่าเรื อหรื อที่ที่ได้ รับอนุมตั ิ โดยการรักษาไว้ ที่โรงพัก
สินค้ า หรื อคลังสินค้ าทัณฑ์บนที่ได้ รับอนุมตั ิ
• 2. กลางน ้า หรื อที่อื่นตามลักษณะของของที่ได้ รับการผ่อนผันตามคาร้ องขอ
• 3. วันและเวลาที่อนุญาตให้ ขนถ่าย
วันที่เปิ ดศุลกากร เวลา 06.00 น. – 18.00 น.
เวลา 18.00 น. – 24.00 น.
เวลา 24.00 น. – 06.00 น

วันเสาร์ -อาทิตย์ หรื อวันหยุดราชการ และนอกเวลาราชการ


จะต้ องขออนุญาตทาการล่วงเวลาและเสียค่าธรรมเนียมตามระเบียบ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การตรวจปล่อยของขาเข้ า
เอกสารที่ใช้ประกอบการตรวจ

1. ใบขนสิ นค้าขาเข้าพร้อมเอกสารประกอบที่ผา่ นพิธีการศุลกากรโดย


สมบูรณ์แล้ว

2. ถ้าของบรรจุอยูใ่ นคอนเทรนเนอร์ตอ้ งมีคาร้องขอ เปิ ดตูฯ้ และ / หรื อ


คาร้องขอลากตูฯ้ ไปจาก อารักขาศุลกากร

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
หลักการตรวจของโดยทัว่ ไป
• 1. ของในรายหนึ่งๆต้องตรวจปล่อยในคราวเดียวกัน ณ. ท่าเรื อที่ หรื อสนามบิน
ศุลกากรที่ระบุไว้ในบัญชีสินค้าที่มีชื่อส่ งของถึง
• 2. ตรวจตามหลักเกณฑ์บริ หารความเสี่ ยง ( Risk management ) ตามที่
กรมศุลกากรกาหนดไว้
• 3. ตรวจสอบการดาเนินการในกระบวนการทางศุลกากรให้ครบถ้วนตามกฎหมาย
ศุลกากรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
• 4. ตรวจสอบการสาแดงใบขนสิ นค้า เช่น ชนิดของ จานวน พิกดั ราคา อากร
รวมถึงใบเสร็ จรับเงินโดยละเอียด
• 5. ตรวจตามคาสัง่ การตรวจ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ลงทะเบียนตรวจปล่อยด้ วยระบบคอมพิวเตอร์
• 1. นาใบขนฯ พร้อมเอกสารประกอบไปยืน่ ต่อหน่วยตรวจปล่อยประจา รพส. /ท่า/ที่นาของเข้า
• 2. จุดบริ การศุลกากรตรวจสอบ
2.1 ความสมบูรณ์ของใบขนฯ พร้อมเอกสารประกอบ
2.2 ตรวจสอบเปรี ยบเทียบข้อมูลในใบขนฯ กับข้อมูลในคอมพิวเตอร์ รวมถึง
เงื่อนไข (Profile) ตามหลักบริ หารความเสี่ ยงที่กรมศุลกากร กาหนด
2.3 รหัสท่าที่ทาการตรวจปล่อย
2.4 วันที่ชาระอากร
2.5 เลขที่ชาระอากร / ประกัน / ยกเว้นอากร
2.6 เลขที่ใบตราส่ ง (B/L)
2.7 มูลค่า ราคา CIF ในใบขนฯ
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
• 3. ตรวจสอบแล้วข้อมูลถูกต้องตรงกัน เจ้าหน้าที่บนั ทึกมูลค่าราคา CIF และ จานวนหี บห่อ
ลงในคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะกาหนดชื่อผูต้ รวจปล่อยโดยอัตโนมัติ

• 4. กรณี ตรวจสอบแล้ว ข้อมูลไม่ตรงกัน พิจารณาดาเนินการตามฐานความผิด

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
วิธีตรวจปล่อยและรับมอบของขาเข้ าไปจากอารักขาศุลกากร

–1. ตรวจโดยวิธีเปิ ดตรวจ

–2. ตรวจโดยวิธีส่งมอบ

–3. ตรวจโดยวิธียกเว้นการตรวจ

–4. ตรวจโดยวิธีใช้เครื่ อง x-ray

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ของที่ต้องตรวจโดยวิธีเปิ ดตรวจ
• 1. ของที่อยูใ่ นเงื่อนไขหลักเกณฑ์บริ หารความเสี่ ยง
• 2. ของที่ผา่ นวิธีการหลายเที่ยวเรื อ
• 3. ของยกเว้นอากรตามภาค 4 พ.ร.ก.พิกดั ฯ ประเภทที่ 1,2,3,5,6และ12
• 4. ของ Re-export
• 5. ของที่นาเข้าเขตปลอดอากร คลังฯทัณฑ์บนทัว่ ไป หรื อเขตอุตสาหกรรมส่ งออก
• 6. ของที่รับของไปก่อน
• 7. ของที่ของให้เปิ ดตรวจโดยผูน้ าของเข้าร้องขอ
• 8. ของเก่าใช้แล้ว ( Used )
• 9. ของเก่าที่มีการแก้ไขชนิดของ หรื อรายละเอียดของของ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ของที่ตรวจโดยวิธีสง่ มอบ ได้ แก่
– 1. อาวุธยุทธภัณฑ์ที่ใช้ในราชการ

– 2. ของที่ทางราชการเป็ นผูน้ าของเข้า

– 3. ของเอกสิ ทธ์ทูต รวมทั้งของส่ วนตัวผูถ้ ือหนังสื อเดินทางทูต

– 4. ของที่อธิบดีสงั่ ให้ปฏิบตั ิเป็ นการเฉพาะ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ของที่ตรวจโดยวิธียกเว้ นการตรวจ

– 1. ของที่ไม่ติดเงื่อนไข ( Profile ) ให้ตรวจสอบพิกดั ราคา และ


ของโดยอยูใ่ นกลุ่มใบขนประเภท Green Line Status 04

– 2. ของอื่นนอกเหนือจากของที่ให้เปิ ดตรวจและส่ งมอบ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
อัตราเปิ ดตรวจ
• 1.1 หีบห่อของอย่างเดียวกัน มีขนาดหีบห่อเป็ นมาตรฐาน และมีเครื่ องหมาย
เดียวกันของชนิดหนึง่ ๆมีจานวนไม่เกิน
เปิ ดตรวจ 10 หี บห่อ 1 หี บห่อ
“ 50 “ 2 “
“ 100 “ 3 “
“ 500 “ 4 “
“ 1000 “ 5 “

ของชนิดหนึ่งๆ มีจานวนตั้งแต่ 1,001 หี บห่อขึ้นไปเปิ ดตรวจ 6 หี บห่อ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
หีบห่อที่บรรจุในคอนเทนเนอร์ ( STUFFING LIST )

ของชนิดหนึง่ ๆมีจานวนไม่เกิน 5 ตู้ เปิ ดตรวจ 2 ตู้


“ 10 “ “ 3 “
“ 30 “ “ 4 “
“ 50 “ “ 5 “
ของชนิดหนึง่ ๆมีจานวนตังแต่
้ 51 ตู้ขึ ้นไปเปิ ดตรวจ 6 “

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การแก้ ไขบัญชีสินค้ าสาหรับเรื อ
เหตุที่ตอ้ งแก้ไข
1. การสาแดงในใบขนฯ ไม่ตรงกับ Manifest หรื อ B/L
2. ข้อมูลใน Manifest ผิดพลาดคลาดเคลื่อน ต้องแก้ไขก่อนจึงจะให้
ตัดบัญชีได้

ผูม้ ีหน้าที่แก้ไข
1. นายเรื อ หรื อตัวแทนเรื อ หรื อเจ้าของตูฯ้ ยืน่ คาขอร้องพร้อมเอกสาร
ประกอบที่น่าเชื่อถือต่อศุลกากร
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
เงื่อนไขเวลาที่ขอแก้ ไข
1. ภายใน 48 ชัว่ โมง นับแต่รายงานเรื อเข้ า แก้ ไขได้ ทกุ กรณีโดยไม่มี
ความผิด

2. หลัง 48 ชัว่ โมง นับแต่เรื อมาถึงท่าตัวแทนเรื อต้ องจัดทาคาร้ องขอแก้ ไข


ต่อศุลกากรเพื่ออนุญาตและพิจารณาความผิด เป็ นการเฉพาะเป็ น
รายๆไป

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
เงื่อนไขในการขอแก้ บญ
ั ชีสินค้ าสาหรับเรื อ
• 1. ถ้ามีการอายัด หรื อยึดของไว้แล้ว ห้ามแก้ไขจนกว่าได้รับวินิจฉัยเรื่ อง
เสร็ จแล้ว

• 2. แก้ไขจานวนหี บห่ อให้มีจานวนน้อยลงกว่าที่สาแดงไว้เดิมต้อง


สอบสวน ให้ได้ขอ้ เท็จจริ งก่อนให้แก้ไข

• 3. ผูน้ าเข้าที่ถูกสัง่ งดผ่านพิธีการ จะแก้ไขได้เมื่อถูกยกเลิกแล้ว

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
4. การแก้ไขในกรณี เปลี่ยนแปลง
4.1 เปลี่ยนแปลงชนิดของให้ต่างไปจากสาแดงไว้เดิม

4.2 เปลี่ยนแปลงชนิดของต้องห้ามต้องกากัดของที่มีอากรสู งเป็ นของอื่นที่


ไม่ตอ้ ง
ห้ามต้องกากัดหรื อต้องชาระอากรต่า กรณี ดงั กล่าวนี้ตอ้ งตรวจสอบ
ข้อเท็จจริ ง
ว่าไม่มีการทุจริ ตจึงอนุญาตให้แก้ไขได้

5. กรณี อื่นที่ส่อไปในทางทุจริ ต เช่น เอาของ 2 หีบห่อมัดรวมกันมา แต่ในบัญชีเรื อ


สาแดงหี บห่อเดียว มีมูลที่ส่อไปในทางทุจริ ตเพื่อเลี่ยงอากร

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
กรณี ขอแก้ไขบัญชีเรื อมี 3 กรณี คือ
1. กรณี ของขาด ( Shortlanded )
2. กรณี ของเกิน ( Overlanded )
3. กรณี Should Be

การแก้ไขในกรณี ของขาด ( Shortlanded )


ของขาด คือ ของที่นาเข้ามาจริ งมีจานวนน้อยกว่าที่สาแดงไว้ใน Manifest
หรื อหี บห่อที่แจ้งไว้น้ นั ไม่ได้นาเข้ามาเลย

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
วิธีแก้ ไข
นายเรื อ หรื อตัวแทน หรื อเจ้าของตู ้ คอนเทนเนอร์ ยืน่ คาร้องขอแก้ไข
ต่อศุลกากรเพื่อขอ
อนุญาต

เอกสารที่ใช้ ประกอบ
1. แบบ กศก. 29 (แบบอนุญาตให้แก้ไขบัญชีสินค้าสาหรับเรื อ)
2. บัญชีสินค้าขนขึ้นขาดเกินของท่าเรื อ
( Shortlanded and Overlanded cargo list )

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
เอกสารที่ใช้ ประกอบ
1. แบบ กศก. 29 (แบบอนุญาตให้แก้ไขบัญชีสินค้าสาหรับเรื อ

2. บัญชีสินค้าขนขึ้นขาดเกินของท่าเรื อ

3. โทรสาร โทรเลข หรื อ E-mail หรื อเอกสาร อื่นที่เชื่อถือได้

4. Tally Sheet (รายการขนส่ งสิ นค้าจากเรื อ) ของโรงพักสิ นค้า ตัวแทนเรื อ


( Shortlanded and Overlanded list)

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การแก้ ไขกรณีของเกิน (Overlanded)
1. ของเกิน เกิดจากกรณี ที่หีบห่อของที่เกินมา ไม่ปรากฏ หรื อไม่สาแดงไว้ในบัญชี
สิ นค้าสาหรับเรื อ
2. นายเรื อ หรื อตัวแทนเรื อ หรื อเจ้าของตูค้ อนเทนเนอร์ตอ้ งยืน่ บัญชีเพิ่มเติม แสดง
รายการหี บห่อนั้นให้ครบ หรื อขออนุญาตเพิ่มเติม Manifest
3. เอกสารประกอบ
3.1 แบบ กศก. 29
3.2 Shortlanded and Overlanded list
3.3 บัญชีรายการสิ นค้าที่แสดงเครื่ องหมาย เลขหมาย จานวนหี บห่ อ
น้ าหนัก ชนิดของ ชื่อผูร้ ับตราส่ ง ของที่เกินมา ซึ่งมีรายการครบถ้วน
แล้ว
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การแก้ ไขกรณี Should Be
1. Should Be เป็ นการแก้ไขเนื่องจากการสาแดงรายการไม่ถูกต้อง เช่น ชื่อ
ผูร้ ับตราส่ งเครื่ องหมาย เลขหมาย ชนิดสิ นค้า หมายเลขตูฯ้ ยอดรวมหี บห่อผิด เป็ นต้น
2. เอกสารประกอบ
2.1 แบบ กศก. 29
2.2 D/O ( Delivery Order )
2.3 หลักฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่ขอแก้ไข เช่น Invoice
Proforma Invoice หรื อ Sale contract เป็ นต้น
3. นายเรื อหรื อตัวแทน หรื อเจ้าของตูฯ้ ยืน่ คาร้องขอแก้ไขต่อศุลกากรบางกรณี อาจ
พิจารณาความผิด ได้รับอนุญาตแล้วจึงแก้ไขได้
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
9. ข้ อควรระวังกฎหมายศุลกากร
เพื่อการนาเข้ าและส่ งออก

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
สิ่ งที่ควรทราบในการนาเข้า-ส่ งออก

พิธีการศุลกากร พิกดั อัตราศุลกากร


สิทธิ
ประโยชน์

ราคาศุลกากร สินค้ าควบคุมตามกฎมายอื่น

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
กฎหมายศุลกากร
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469
แก้ ไขเพิม่ เติมถึงฉบับที่ 20 พ.ศ. 2548

พ.ร.บ. ศุลกากร
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ร.บ. ศุลกากร (ฉบับที่ 9)พ.ศ. 2482
(ฉบับที่ 7)พ.ศ. 2480 (ฉบับที่ 8)พ.ศ. 2480 (ฉบับที่ 12)พ.ศ.
ทางบก/รถไฟ ทางอากาศยาน 2497
เบ็ดเตล็ด

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ราคาศุลกากร

แกตต์ (GATT)

มาตราวัดด้วย VII ของความตกลง


ทัว่ ไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Agreement On Implementation Of Article
VII Of The General Agreement On Tariffs
And Trade 1994
ราคาศุลกากร ควรอยู่บนพืน้ ฐานของ
มูลค่ าอันแท้ จริง (Actual Value) ของของนาเข้ า

ราคาของที่ได้ขายไปตามปกติ
ในสภาพาที่มีการแข่งขันกัน
ราคาภายใต้เงื่อนไขทัดเทียมกัน
มากที่สุด
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ราคาศุลกากร
-Agreement On Implementation Of Article VII Of The General
Agreement On Tariffs And Trade 1994
- พระราชบัญญัติศุลกากร พุธศักราช 2469 แก้ไขเพิ่มเติม โดยพ.ร.บ.
(ฉบับที่ 17) พ.ศ. 1994
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 132 พ.ศ.2543
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 145 พ.ศ.2547
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 146 พ.ศ.2550
- ประกาศกรมศุลกากรที่ 70/2555

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
พระราชบัญญัตศิ ุลกากร พุธศักราช 2469 แก้ ไขเพิม่ เติม โดยพ.ร.บ. (ฉบับที่ 17)
พ.ศ. 2543
มาตรา 2 วรรคสิ บสอง
คาว่า “ราคาศุลกากร” หรื อ “ราคา” แห่งของอย่างใดนั้น
(1) ในกรณี ส่งของออก
ชนิดเดียวกันได้โดยไม่ขาดทุน ณ เวลา และที่ที่ส่งของออก โดยไม่มีหกั ทอนหรื อลดหย่อนราคาอย่างใด
หรื อ
(2) ในกรณี นาของเข้า หมายความว่า ราคาของของเพื่อความมุ่งหมายในการจัดเก็บอากรตามราคาอย่างใด
อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(ก)ราคาซื้ อขายของที่นาเข้า
(ข)ราคาซื้ อขายของที่เหมือนกัน
(ค)ราคาซื้ อขายของที่คล้ายกัน
(ง)ราคาหักทอน
(จ)ราคาคานวณ
(ฉ)ราคาย้อนกลับ
ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขในการใช้ราคาและการกาหนดราคาตาม(ก)(ข)(ค)(ง)และ(ฉ)ให้เป็ นไป
ตามที่ กาหนดในกฏกระทรวง

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ของนาเข้ าไม่ ถือว่ าเป็ นราคาซื้อขาย
ของขวัญ ของตัวอย่าง และของที่ใช้ ส่ งเสริ มการขายโดยไม่คิดราคา

ของฝากขาย

ของนาเข้าโดยสานักงานสาขาที่เป็ นนิติบุคคลเดียวกัน

ของนาเข้าภายใต้สญ
ั ญาเช่า หรื อให้ยมื

ของนาเข้าเพื่อทาลาย โดยผูน้ าของเข้าได้รับค่าบริ การ

ของนาเข้ามาโดยคนกลาง
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
พิกดั อัตราศุลกากร
พระราชกาหนดพิกดั อัตราศุลการกร พ.ศ.2530

ภาค 1 ภาค 2 ภาค 3 ภาค 4


หลักเกณฑ์ พิกดั อัตรา พิกดั อัตรา ของได้รับการ
การตีความ อากรขาเข้า อากรขาออก ยกเว้นอากร

6 ข้อ 97 ตอน 9 ประเภท 18 ประเภท


ภาค 2 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.ก.พิ กดั อัตราศุลกากร(ฉบับที่ 5)พ.ศ.2555
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
อัตราอากร
อัตราปกติ ตาม พ.ร.ก.พิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. 2530
(แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2555

ลด หรื อยกเว้ น ประกาศกระทรวงการคลัง


-มาตรา 12 ลด หรื อยกเว้ นทั่วไป(แบบมีเงื่อนไข หรื อตามบัญชีท้ายประกาศ)
-มาตรา 14 ลด หรื อยกเว้ นตามข้ อตกลงเขตการค้ าเสรี (FTA)

ยกเว้ นอากรภาค 4 พิกดั ฯ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
สิ นค้ าควบคุมการนาเข้ า-ส่ งออก

ของต้ องห้ าม

ของต้ องกากัด

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการศุลกากร

กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการศุลกากร หมายถึง บรรดากฎหมายใดๆ อัน


ได้ แก่ พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด พระราชกฤษฎีกา รวมถึงกฎกระทรวง ระเบียบ หรื อ
ประกาศต่างๆ ที่ออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมายนัน้ เพื่อควบคุม จากัด
กาหนดเงื่อนไข วิธี ปฏิบตั ิ หรื อกาหนดข้ อห้ ามใดๆ สาหรับการเข้ ามาใน หรื อส่งออกไปนอก
ราชอณาจักร หรื อส่งผ่านประเทศซึง่ ของที่ควบคุมตามกฎหมายนันๆ ้

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ของต้ องห้ าม : Prohibited Googs

ของต้ องห้ าม หมายถึงของที่มีกฎหมายกาหนดห้าม


นาเข้ามาหรื อส่ งออกไปนอกราชอาณาจักรโดยเด็ดขาด
เช่นสิ นค้าละเมิดลิขสิ ทธิ์ ยาเสพย์ติดให้โทษร้ายแรง

วัตถุลามก ของทีแสดงถิ
นก่ าเนิ ดเท็จ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ของต้ องกากัด/ต้ องจากัด : Restricted Goods

ของต้ องกากัด หมายถึงสิ นค้าที่มีกฎหมายกาหนดว่าหากจะมีการนาเข้า-ส่ งออกหรื อผ่าน


ราชอาณาจักรจะต้องได้รับอนุญาตหรื อปฏิบตั ิให้ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น ๆ เช่น ต้องมี
ใบอนุญาตการนาเข้าและส่ งออก ต้องปฏิบตั ิตามประกาศอันเกี่ยวกับฉลากหรื อใบรับรองการวิเคราะห์
หรื อเอกสารกากับยา เป็ นต้น ผูใ้ ดนาของต้องกากัดเข้ามา หรื อส่ งออก หรื อส่ งผ่านราชอาณาจักรโดย
มิได้รับอนุญาตหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายที่กาหนดไว้ให้ครบถ้วน จะมีความผิดตามที่กาหนดไว้ใน
กฎหมายนั้น ๆ และเป็ นความผิดตามมาตรา 27 และ 27 ทวิของกฎหมายศุลกากรด้วย ตัวอย่างสิ นค้าที่มี
มาตรการนาเข้า,สิ นค้าที่มีมาตรการส่ งออก,สิ นค้ามาตรฐานและมาตรฐานสิ นค้า สามารถดูได้ที่ กรมการ
ค้ าต่ างประเทศ จัดระเบียบเพื่อควบคุมการนาเข้าหรื อส่ งออก เช่น วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่ งเทียม
อาวุธปื น เงินตราไทยและเงินตราต่างประเทศ เป็ นต้น

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษีอากร
คลังสิ นค้ าทัณฑ์
คืนอากรตาม บนมาตรา 8และ
มาตรา 19 ทวิ 8 ทวิ

สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษี เขตประกอบการ


เขตปลอดอากร
อากร เสรี
Free Zone
(Tex Incentives) IEAT-Free Zone

การส่ งเริมการ
ลงทุน ชดเชยอากร
BOI

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Intelligence

Risk
Profiling
Management

Customers
Controls

Investigation Physical Check

PGA
(Post-Glearance
Audit)

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Customs Control

การควบคุมทางศุลกากร หมายถึงมาตรการต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบตั ิงานเพื่อให้แน่ใจว่าได้ปฏิบตั ิ


ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมายและระเบียบที่กาหนดให้ศุลกากรเป็ นผูบ้ งั คับใช้ (ที่มา:Glossary of
International Customs Terms จัดพิมพ์โดย WCO ปี 1995)

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
เครื่ องมือทีใ่ ช้ ควบคุมทางศุลกากร
1. กฎหมายและระเบียบ

4. บุคคลกร Tools 2. ระบบ

3. เทคโนโลยี

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
เทคโนโลยีในการควบคุมทางศุลกากร
RFID
B

CCTV X- Ray
C
A
Customs
Controls

D
GPS E BARCODE

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Risk Management
การบริหารความเสี่ ยงของกรมศุลกากร

มุ่งควบคุมตรวจสอบ สิ นค้า – บุคคล –ผูป้ ระกอบการ


High Risk

มุ่งอานวยความสะดวก สิ นค้า – บุคคล –ผูป้ ระกอบการ


Low Risk

เงื่อนไขการตรวจปล่อยสิ นค้ า
1.วิธีส่งมอบ
2.วิธียกเว้นการตรวจ
3.วิธีเปิ ดตรวจ
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Customs Control
ระบบควบคุมทางศุลกากร

ควบคุมก่ อนปล่ อย
Pre-Clearance Control

ควบคุมขณะตรวจปล่อย
Clearance Control

ควบคุมหลังการปล่ อย
Post Clearance Control

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การควบคุมก่ อนปล่ อย
Pre-Clearance Control

Manifest Review Security Of Cargo

ตรวจสอบบัญชีสินค้าสาหรับเรื อ สารวจตรวจตราและเฝ้าระวังการเคลื่อนไหว
(Cargo Manifest ) ของสิ นค้า (Surveillance)

ตรวจสอบใบตราส่ งสิ นค้า (BL,AWE)

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
ควบคุมขณะปล่ อย
Clearance Control
Document Review

Physical Examination

CCTV

การตรวจสอบชนิดสิ นค้ า ปริมาณ นา้ หนัก ราคา พิกดั ฯ อัตราอากร การใช้


สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษีอากร ใบอนุญาต/ใบรับรอง
Certificate of Origin :c/o, และพิธีการศุลกากร
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การควบคุมหลังการปล่ อย
Post Clearance Control
1. ตรวจสอบ ณ ที่ทาการศุลกากร 2. ตรวจสอบ ณ สถานประกอบการ
(At Customs Premise) (At Entrepreneur Premise)

-ตรวจสอบบัญชี เอกสาร หลักฐาน ณ


- ทบทวนหลังปล่อย
สถานประกอบการ (Post Audit)
- ตรวจค้นโดยใช้หมายค้นของศาล
(Investigation)

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
หน่ วยงานที่รับผิดชอบในการตรวจสอบหลังการปล่ อย
Post Clearance Control
สานักตรวจสอบอากร ฝ่ ายสื บสวนและปราบปราม

สานักตรวจสอบอากร สานักสื บสวนปราบปราม สานักงานศุลกากรต่างๆ

-Post Review -Post Review


- Post Audit Investigation -Post Audit
-Investigation

ทั่วราชอณาจักร ทั่วราชอณาจักร ในเขตพืน้ ที่ที่รับผิดชอบ


อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การเก็บเอกสาร เก็บรักษา
พระราชบัญญัตศิ ุลกากร
มาตรา 113 ทวิ พ.ศ.2469
ไม่ ว่าสื่ อในรู ปแบบใดๆที่
ให้ -บัญชี
บุคคลดังกล่ าวใช้ อยู่ซึ่ง
ผู้นาของเข้ า -เอกสาร
เกีย่ วข้ องกับของใดๆซ่ งกาลัง
-หลักฐานและข้ อมูล
ผ่ าน หรื อได้ ผ่านศุลกากร
ผู้นาของเข้ า เก็บรักษาไว้ ณ สถานประกอบการหรื อสถานที่
อื่นที่อธิบดีกาหนด
ผู้นาของเข้ า มีหน้ าที่
เป็ นเวลาไม่ น้อยกว่ า 5 ปี
ผู้นาของเข้ า นับแต่ วนั นาของเข้ าหรื อส่ งของออก
ผู้นาของเข้ า หากเลิกประกอบการให้ ผ้ ูชาระบัญชีและนิติ
บุคคลเก็บรักษาต่ อไปอีก 2 ปี
*ผู้ใดฝ่ าฝื นมีโทษจาคุกไม่ เกิน 6 เดือนหรื อปรับไม่ เกิน 50,000 บาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
การตรวจค้ นโดยใช้ หมายศาล (Investigation)
สานักสื บสวนปราบปราม

กรมศุลกากร ศาล

มีเหตุสงสั ย/สายลับแจ้ ง พิจารณา


ขออนุมตั ติ รวจค้ น
อนุมตั ิ ไม่ อนุมตั ิ
ขอหมายศาล
ดาเนินการตามศาลสั่ ง ดาเนินการตรวจ ค้ นพบ/ไม่ พบ
รายงานผล
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
รายงานศาล
ความผิดตามตามกฎหมายศุลกากร
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ.2469
ความผิดมาตรา 27

ผู้ใดนาหรื อพาของที่ยังมิได้ เสียค่าภาษี หรื อของต้ องจากัด หรื อของ ต้ องห้ าม หรื อที่ยังมิได้ ผ่าน
ศุล กากรโดยถูก ต้ อ งเข้ า มาในพระราชอาณาจัก รสยามก็ ดี หรื อ ส่ ง หรื อ พาของเช่ น ว่ า นี อ้ อกไปนอกพระ
ราชอาณาจักรก็ดี หรื อช่วยเหลือด้ วยประการใด ๆ ในการนาของ เช่นว่านี ้เข้ ามา หรื อส่งออกไปก็ดี หรื อย้ ายถอน
ไป หรื อช่วยเหลือให้ ย้ายถอนไปซึ่งของดังกล่าวนัน้ จากเรื อกาปั่ น ท่าเทียบเรื อโรงเก็บสินค้ า คลังสินค้ า ที่มนั่ คง
หรื อโรงเก็บของโดยไม่ได้ รับอนุญาต ก็ดี หรื อให้ ที่อาศัยเก็บ หรื อเก็บ หรื อซ่อนของเช่นว่านี ้ หรื อยอม หรื อจัดให้
ผู้อื่นทาการเช่นว่านัน้ ก็ดี หรื อเกี่ยวข้ องด้ วยประการใด ๆในการขนหรื อย้ ายถอน หรื อกระทาอย่างใดแก่ของเช่นว่า
นัน้ ก็ดี หรื อเกี่ยวข้ องด้ วยประการใด ๆ ในการหลีกเลี่ยง หรื อพยายามหลีกเลี่ยงการเสียค่าภาษี ศุลกากร หรื อใน
การหลีกเลี่ยง หรื อพยายามหลีกเลี่ยงบทกฎหมายและข้ อจากัดใด ๆ อันเกี่ยวแก่ การนาของเข้ า ส่งของออก ขน
ของขึ ้น เก็บของในคลังสินค้ า และการส่งมอบของโดยเจตนาจะฉ้ อ ค่าภาษี ของรัฐบาล ของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยูห่ วั ที่จะต้ องเสียสาหรับของนัน้ ๆ ก็ดี หรื อ หลีกเลี่ยงข้ อห้ ามหรื อข้ อจากัดอันเกี่ยวแก่ของนันก็
้ ดี

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2469 สาแดงเท็จ

ความผิดมาตรา 99

ผู้ใดกระทาหรื อจัดหรื อยอมให้ ผ้ ูอื่นกระทา หรื อยื่ นหรื อจัดให้ ผ้ ูอื่น ยื่ นซึ่ งใบขนสิ นค้ า คาแสดง ใบรั บรอง
บั น ทึ ก เรื่ อ งราว หรื อ ตราสารอย่ า งอื่ น ต่ อ พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ในเรื่ อ งใด ๆ อั น เกี่ ย วด้ ว ยพระราชบั ญ ญั ติ นี้ หรื อ อั น
พระราชบัญญัตนิ ีบ้ ังคับให้ กระทานั้นเป็ น ความเท็จก็ดี เป็ นความไม่ บริบูรณ์ กด็ ี หรื อเป็ นความชักพาให้ ผดิ หลงในรายการใด
ๆ ก็ดี หรื อถ้ า ผู้ใดซึ่ งพระราชบัญญัตินี้บังคับให้ ตอบคาถามอันใดของพนักงานเจ้ าหน้ าที่มิได้ ตอบคาถามอันนั้น โดยสั ตย์
จริ งก็ดี หรื อถ้ าผู้ใดไม่ ยอม หรื อละเลยไม่ ทาไม่ รักษาไว้ ซึ่งบันทึกเรื่ องราว หรื อทะเบียน หรื อสมุดบัญชี หรื อเอกสาร หรื อ
ตราสารอย่ างอื่น ๆ ซึ่งพระราชบัญญัตินี้บังคับไว้ ก็ดี หรื อถ้ าผู้ใด ปลอมแปลงหรื อใช้ เมื่อปลอมแปลงแล้ วซึ่ งเอกสารบันทึก
เรื่ องราว หรื อตราสารอย่ างอื่นที่พระราช บัญญัตินี้บังคับไว้ ให้ ทา หรื อที่ใช้ ในกิจการใด ๆ เกี่ยวด้ วยพระราชบัญญัตินี้ก็ดี
หรื อแก้ ไขเอกสาร บันทึกเรื่ องราว หรื อตราสารอย่ างอื่นภายหลังที่ได้ ออกไปแล้ วในทางราชการก็ดี หรื อปลอม ดวงตรา
ลายมือชื่ อ ลายมือชื่ อย่ อ หรื อเครื่ องหมายอย่ างอื่นของพนักงานกรมศุลกากร หรื อ ซึ่งพนักงานศุลกากรใช้ เพื่อการอย่ างใด ๆ
อันเกีย่ วด้ วยพระราชบัญญัตินีก้ ด็ ี ท่ านว่ าผู้น้ันมี ความผิด ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรื อปรับไม่ เกินห้ าแสนบาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
อานาจในการระงับคดีของอธิบดีกรมศุลกากร มาตรา 102 ทวิ

มาตรา 102ทวิ สาหรับความผิด


ตาม มาตรา 27 มาตรา 31 มาตรา 36 และ มาตรา 96 และความผิด
ตาม มาตรา 5 มาตรา 5ทวิ และ มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติ ศุลกากร
(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2480 ถ้าราคาของกลางรวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วเกินกว่าสี่
แสนบาท ให้เป็ นอานาจของคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยผูแ้ ทนกรม
ศุลกากร ผูแ้ ทนกระทรวงการคลัง และผูแ้ ทนสานักงานตารวจแห่งชาติ ที่จะ
เปรี ยบเทียบและงดการฟ้องร้อง และการที่คณะกรรมการงดการฟ้องร้อง
เช่นนี้ ให้ถือว่าเป็ นอันคุม้ กัน ผูก้ ระทาผิดนั้นในการที่จะถูกฟ้องร้องต่อไปใน
กรณี แห่งความผิดอันนั้น

อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ

You might also like