You are on page 1of 114

Logistics Industrial Functional Map

Warehouse Checker
Transportation Survey
Shipping (Import-Export)
อาจารย์ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Teewara Buchaiyaphum
0868332185
Warehouse Checker
Industrial/
Logistics Industrial Functional Map
Service

3. การจัดการคลังสิ นค้าและ
Cluster 1. การวิ เคราะห์และวางแผน 2. การจัดซื้อและจัดหา
สิ นค้าคงคลัง
4. การบริ การลูกค้า 5. การขนส่ง

แยกตามรูปแบบ
การขนส่ง
งานวิ เคราะห์และวางแผน งานจัดซื้อและจัดหา งานบริ การลูกค้า

1. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า 2. งานควบคุมสิ นค้าคงคลัง 3. งานควบคุมรถยกสิ นค้า 4. งานควบคุมรถยกสิ นค้า
ขนาดไม่เกิ น 10 ตัน ขนาดตัง้ แต่ 10 ตัน ขึ้นไป

ทางท่อ (อ้างอิ งมาตรฐาน


ทางถนน ทางน้ า ทางอากาศ
การปฏิ บตั ิ งานท่อและแท้งค์
ฟาร์ม)
Occupation/ 8. งานบริ หารท่าเรือ ทางราง (อ้างอิ งมาตรฐาน
ในประเทศ ต่างประเทศ
Job 13. งานบริ หารการขนส่งทาง การปฏิ บตั ิ งานของการ
1. งานบริ หารการขนส่ง 9. งานปฏิ บตั ิ การท่าเรือ อากาศ รถไฟแห่งประเทศไทย)
4. งานบริ หารท่าเรือ
ทางถนน
10. งานเดิ นเรือ (อ้างอิ ง 14. งานปฏิ บตั ิ การท่าอากาศยาน
5. งานปฏิ บตั ิ การท่าเรือ มาตรฐานการปฏิ บตั ิ งานของ (อ้างอิ งมาตรฐานการปฏิ บตั ิ งานของ IATA)
2. งานฏิ บตั ิ การการขนส่ง คณะกรรมการพาณิ ชย์นาวี)
15. งานขนส่งสิ นค้าทางอากาศ
สิ นค้าทางถนน
6. งานเดิ นเรือ (อ้างอิ ง 11. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า (อ้างอิ งมาตรฐานการปฏิ บตั ิ งานของ ICAO)
มาตรฐานงานของกรมเจ้าท่า) ต่างประเทศ (อ้างอิ งมาตรฐาน
3. งานสนันสนุนการขนส่ง งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า) 16. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้าต่างประเทศ
(อ้างอิ งมาตรฐานงานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า)
7. งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า
12. งานนาเข้า-ส่งออก
ในประเทศ (อ้างอิ งมาตรฐาน
งานปฏิ บตั ิ การคลังสิ นค้า)
(อ้างอิ งมาตรฐานสมาคม 17. งานนาเข้า-ส่งออก (อ้างอิ งมาตรฐาน
ตัวแทนออกของ) สมาคมตัวแทนออกของ)
3. การจัดการคลังสินค้าและสินค้าคงคลัง

• 1. งานปฏิบตั ิ การคลังสินค้า
• 2. งานควบคุมสินค้าคงคลัง
• 3. งานควบคุมรถยกสินค้าขนาดไม่เกิน 10 ตัน
• 4. งานควบคุมรถยกสินค้าขนาดตัง้ แต่ 10 ตัน ขึ้นไป
Warehouse Checker
ตัวอย่าง กรณี ศึกษา
• ซี.พี.เซเว่นอีเลฟเว่น
• เป็ นบริ ษทั ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์
ประวัตบิ ริษทั
ซี.พี.เซเว่นอีเลฟเว่น
เป็ นบริ ษทั ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์
ถื อกำเนิ ดขึ้นเมื่ อวันที่ 2 พฤศจิกำยน 2531

ดำเนิ นธุรกิจด้ำนกำรบริ กำร


ประเภทร้ำนสะดวกซื้ อค้ำปลีก
ภำยใต้ช่ ื อ“เซเว่นอีเลฟเว่น”
ซึ่งสำขำแรกได้แก่ สำขำพัฒน์พงษ์
ตัง้ ขึ้นเมื่ อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2532
เซเว่นอีเลฟเว่น...

เพื่อ เป็ นรองรับการขยายตัว และการเติบโตของธุรกิจในอนาคต และเป็ น


โอกาสสร้างชื่อเสี ยงให้เป็ นที่รู้จกั มีภาพลักษณ์องค์กร ที่น่าเชื่อถือในสายตา
ของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกกลุ่มได้ในอนาคตบริ ษทั ฯ จึงเปลี่ยนชื่อบริ ษทั

บริ ษทั ซี.พี. เซเว่นอีเลฟเว่น จากัด (มหาชน) บริ ษทั ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)
โดยมีผลตั้งแต่ 19 ตุลาคม 2550
ความหมายของตราสัญลักษณ์

ใบไม้ 3 ใบทีม่ ีชีวติ ชีวา มีคาว่ า all อยู่ด้านข้ าง

ใบไม้ ท้งั 3 ใบ เปรียบเสมือนการ รวมตัวทีส่ มบูรณ์ แบบของธุรกิจในกลุ่ม

ใบไม้ สีนา้ เงิน ....... (ตรงกลาง) บ่งบอกถึงความมัน่ คงน่าเชื่อถือ อันหมายถึง ธุรกิจหลักของบริษทั

ใบไม้ สีเขียวอ่อน ..... (ทั้งซ้ายและขวา) บอกถึงการผลิใบใหม่ อันหมายถึง การเจริญเติบโต


การสร้ างธุรกิจใหม่ สนับสนุน ความแข็งแกร่ งของธุรกิจหลัก
• DC 4 = 2,341 Branch
• DC 5 = 1,838 Branch
• RDC = 371 Branch
การรับสินค้ า การส่งสินค้ า 3.00 น.
Mirror

DATA
วางแผนสัง่ ซื ้อ Center

AS 400

จัดซื ้อ DC4
ข้ อมูลจ่าย
supplier ,DC5
WM2000

ส่งมอบ Assignment
Destination
ข้ อมูลรับ
Print เอกสาร
60M/min

รับสินค้ า USC=Unit Ship Case Full Case


จัดเก็บ Break Case
สินค้ าพิเศษ
กระบวนบริหารคลังสินค้า
H/O Data Center DC
Stores
Order Inbound Picking
Documents
Purchasing Re-ordering
P/O Supply Reserved
Venders
Picking

Transportation Loading
450 pcs/man/Hour

การทางาน และ บริ เวณภายในคลังสินค้ า


มีโซน DPS(Digital Pick System) แบบ Picking ชิ ้นอยูช่ นสอง
ั้
มีการกันกรงสิ
้ นค้ าราคาแพง
สิ นค้า FULL CASE
ลาเลียงโดยสายพานจากชันสองลงมา

ตรวจเช็คก่อนส่งออก
สิ นค้า BRAKECASE
BACK HAUL
วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น
The 5 Force’ s Model

1. การแข่ งขันในอุตสาหกรรม (Existing & Competitor)


I ปัจจุบนั ธุรกิจของร้านสะดวกซื้อมีการแข่งขันกันสูงมาก
: Lotus Express, Jiffy Shop หรื อ Family Mart
: Big C, Tesco Lotus หรื อ Carrefour
II จัดรายการโปรโมชัน่ ต่าง ๆ เช่น ซื้อ 1 แถม 1 หรื อ ซื้อ 2 ชิ้นประหยัดกว่า
หรื อจัดรายการลดแลก แจกแถม
III สร้างบริ การให้ลูกค้าประทับใจ

Source: DNT Consultants


วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น
The 5 Force’ s Model

2. คู่แข่ งรายใหม่ (New Entrants)


I ขณะนี้มีเพิ่มจานวนมาก ไว้วา่ จะเป็ นร้านค้าปลีกขนาดเล็ก เข้ามากระจายเปิ ดกิจการ ตาม
เขต ชุมชนใหญ่ ๆ และมีสิ่งอานวยความสะดวกค่อนข้างครบ ไม่วา่ จะเป็ น
เคาท์เตอร์รับชาระ ค่าบริ การต่าง ๆ มีโรงภาพยนตร์ คาราโอเกะ และมีธนาคารสาขาย่อย
: 108 shop, Lotus Express หรื อ Jiffy Shop
: Big C, Tesco Lotus หรื อ Carrefour
II 7-Eleven อาจจะได้เปรี ยบคู่แข่งรายอื่นในแง่ที่วา่ เปิ ดบริ การ 24 ชัว่ โมง
มีเครื อข่ายกระจายอยูใ่ นชุมชนทัว่ ประเทศ

Source: DNT Consultants


วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น
The 5 Force’ s Model

3. อานาจต่ อรองของตัวแทนจาหน่ าย (Supplier Power)


I ในแง่ Supplier นั้นไม่มีผลกระทบต่อ 7–Eleven เลย เนื่องจากว่า 7-Eleven เป็ นบริ ษทั ที่
มีสาขาจานวนมาก จึงทาให้ 7-Eleven มีอานาจการต่อรองในเรื่ องราคา และสามารถ
กาหนดกติกากับ Supplier ได้

Source: DNT Consultants


วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น
The 5 Force’ s Model

4. อานาจต่ อรองของผู้ซื้อ (Buyer Power)


I ผูซ้ ้ือมีอานาจในการต่อรองกับ 7–Eleven น้อย เพราะว่า 7–Eleven มีสาขากระจายอยู่
ตามชุมชนทัว่ ประเทศ ซึ่ งเป็ นร้านค้าปลีกที่อยูใ่ กล้บา้ นมากกว่าร้านค้าปลีกอื่น ๆ จึง
สามารถสนองตอบความต้องการได้ง่าย
II ในภาวะปัจจุบนั ที่ค่าน้ ามันเพิ่มสูงขึ้น จึงทาให้ผบู้ ริ โภคเริ่ มเปลี่ยนพฤติกรรม การซื้อ
คือ การซื้ อจากร้านค้าใกล้บา้ น ใกล้ที่ทางาน
III 7-Eleven สามารถตอบสนองความต้องการในส่วนนี้ของลูกค้าได้มาก อีกทั้งการ
บริ การ อาหาร และเครื่ องดื่ม มีพร้อม สะอาด สะดวก
IV การเปิ ดบริ การ 24 ชัว่ โมง

Source: DNT Consultants


วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น
The 5 Force’ s Model

5. สิ่ งทดแทน (Substitutes)


I มีร้านค้าปลีกขนาดเล็กทั้งที่เป็ นร้านค้าปลีกตั้งเดิม และร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ซึ่งเป็ น
คู่แข่งทางตรง ที่สามารถมาทดแทน สนองตอบต่อความต้องการของลูกค้าได้
เหมือน ๆ กัน สะดวกในการจับจ่าย และเป็ นการประหยัดเวลา
II ร้านค้าปลีกต่าง ๆ แข่งขันหาจุดบริ การต่าง ๆ เพื่อดึงดูดให้ลูกค้าเลือกมาใช้บริ การ
และจับจ่ายที่ร้านของตน

Source: DNT Consultants


วิเคราะห์แนวโน้ม
Trend Analysis
• แนวโน้ มที่แน่ นอน (Certainty Trends)
• ในภาวะที่เศรศฐกิจของประเทศชะลอตัว ลูกค้าเริ่ มใส่ ใจใส่ ในเรื่ องความคุม้ ค่าของ
สิ นค้ากับปริ มาณเงินที่จ่ายออกไป
• คู่แข่งขัน เริ่ มมีการทาตลาดและการจัดรายการที่ดึงดูดลูกค้ามากขึ้น
• การแข่งขันเรื่ องสิ นค้าและบริ การเน้นที่คุณภาพของสิ นค้าและบริ การ

Source: DNT Consultants


วิเคราะห์แนวโน้ม
Trend Analysis
• แนวโน้ มที่ไม่ แน่ นอน (Uncertainty Trends)
• ราคาน ้ามันมีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลต่อต้ นทุนของสินค้ าในด้ านการ
ขนส่ง
• เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
• พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
• ความไม่แน่นอนของกฎหมายค้ าปลีกว่าจะมีผลบังคับใช้ เมื่อใด ซึง่ ส่งผลให้ ร้านค้ า
ปลีกข้ ามชาติขนาดใหญ่ตา่ งเร่งขยายสาขาใหญ่บ้างเล็กบ้ าง

Source: DNT Consultants


ข้อเสนอแนะ

• การที่ทาง 7-Eleven มีการฝึ กบุคลากร โดยเปิ ดการเรี ยนการสอน และเปิ ดให้


มีการปฏิบตั ิงานจริ ง ทาให้บุคคลากรที่สาเร็ จออกมามีความสามารถ และ
เป็ นที่ตอ้ งการของร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ซึ่งทาง 7-Eleven ควรมีมาตรการ
รองรับปัญหาเรื่ องสมองไหล เพื่อป้องกันการซื้ อตัวบุคลากรจากบริ ษทั คู่แข่ง

• เนื่องจากปั จจุบนั ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว มีคนว่างงานจานวนมาก ควรมี


มาตรการรักษาความปลอดภัยของร้านสาขา จะทาให้ลูกค้ากล้าที่จะมาใช้
บริ การในยามดึกเพิม่ ขึ้น

Source: DNT Consultants


BACK HAUL
เซเว่นอีเลฟเว่น เพือ่ นทีร่ ู้ใจใกล้ๆ คุณ
พาเลท (Pallet) หรือไม้ รองรับสินค้ า เป็ น
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ นที่สุดของคลังสินค้ า เพราะเป็ น
อุปกรณ์ พนื ้ ฐานที่ใช้ ในการเคลื่อนย้ ายสินค้ า
จากชัน้ วางของ หรือเคลื่อนย้ ายขึน้ -ลงบน
พาหนะขนส่ งประเภทต่ างๆ (Lift on / Lift Off)

37
รูปแบบของไม้ พาเลทประเภทต่ างๆ

38
รูปแบบของไม้ พาเลทประเภทต่ างๆ

39
รูปแบบของไม้ พาเลทประเภทต่ างๆ

40
รูปแบบของไม้ พาเลทประเภทต่ างๆ

41
รูปแบบของไม้ พาเลทประเภทต่ างๆ

42
รูปแบบของไม้ พาเลทประเภทต่ างๆ

43
แท่ นรองรับสินค้ าทาจากพลาสติก (Plastic Pallet)

44
แท่ นรองรับสินค้ าทาจากกระดาษ (Paper Pallet)

45
แท่ นรองรับสินค้ าทาจากโลหะ (Steel Pallet)

46
การทางานของแผ่ นรองรับสินค้ า (Slip sheet)

47
บรรณานุกรม
• หนังสือคู่มือมาตราฐานโลจิสติกส์ ส.อ.ท. FTI Logistics Standar จัดทาโดย
สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
• http://www.foodnetworksolution.com
• http://www.sasidis.com
• http://palletmakergroup.net

(สืบค้ นวันที่ 6 ตุลาคม2556)


ข้ อดีและข้ อเสียของพาเลทแต่ ละชนิด
พาเลทไม้ (Wooden Pallets)
ข้ อดีพาเลทไม้
- เป็ นสินค้ าที่หาใช้ ได้ งา่ ยระยะเวลาในการผลิตรวดเร็ว
- ราคาไม่แพง แข็งแรง ทนทาน สามารถนากลับมาใช้ ใหม่ได้
- รับน ้าหนักสินค้ าได้ มากถึง 2 ตัน
- สามารถซ่อมแซมและเก็บรักษาดูแลง่าย
ข้ อเสียพาเลทไม้
- ปั ญหาสิง่ แวดล้ อม และภาวะโลกร้ อน
- ปั ญหาเรื่ องเชื ้อราในเนื ้อไม้ แมลง ปลวก มอด เสี ้ยนไม้ ความชื ้น
- อาจแตกหรื อหักได้ เมื่อบรรจุสนิ ค้ าที่มีน ้าหนักเกินไป
- ไม้ อาจเกิดการบิด โก่ง หรื อโค้ งงอ
พาเลทโฟม (Foam Pallets)
ข้ อดีพาเลทโฟม
- น ้าหนักเบา สามารถลดต้ นทุนในการขนส่ง เช่น การขนส่งทางอากาศ
- หมดปั ญหาเรื่ องปลวก มอด แมลง
- ไม่ขึ ้นรา แม้ จะเก็บในที่ชื ้น
- ทาความสะอาดได้ ง่าย
- ไม่ต้องผ่านมาตรฐาน ISPM15
ข้ อเสียพาเลทโฟม
- ไม่ย่อยสลาย ไม่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม
- ความแข็งแรงทนทานน้ อย
พาเลทเหล็ก (Steel Pallets)
ข้ อดีพาเลทเหล็ก
- แข็งแรง ทนทาน
- อายุการใช้ งานยาวนาน
- หมดกังวลเรื่ อง ปลวก มอด แมลงกินเนื ้อไม้
- เป็ นวัสดุที่ไม่เป็ นเชื ้อไฟ
ข้ อเสียพาเลทเหล็ก
- น ้าหนักมาก ไม่เหมาะกับการส่งออก เหมาะกับการใช้ หมุนเวียน
ภายในโรงงาน
- ราคาสูง (ราคาขึ ้น-ลง ตามราคาเหล็ก)
พาเลทพลาสติก (Plastic Pallets)
ข้ อดีพาเลทพลาสติก
- มีน ้าหนักเบา ราคาไม่แพง
- ไม่มีปัญหาเรื่ องความชื ้น เรื่ องแมลง ปลวก มอด โก่ง บิด หรื องอ
- เก็บรักษาง่าย ซ่อมแซมได้
- มีความคงทน ทนความร้ อน
- สามารถนาไปขายเป็ นพาเลทมือสองหรื อนากลับมาใช้ ใหม่ได้
- ลดปั ญหาเรื่ องการตัดไม้ และวิ่งแวดล้ อม
ข้ อเสียพาเลทพลาสติก
- สามารถใช้ งานได้ ประมาณ 3-5 ปี
- ราคาของพาเลทพลาสติก จะขึ ้น-ลง ตามราคาของวัตถุดิบที่นามาใช้ ในการผลิตเป็ นพาเลท
- อาจจะชารุดได้ ถ้ามีการใช้ งานมากเกินไป
พาเลทกระดาษ (Papar Pallets)
ข้ อดีพาเลทกระดาษ
- น ้าหนักเบา สะดวกต่อการใช้ งาน และลดน ้าหนักในการขนส่งสินค้ า เหมาะต่อการขนส่ง
ทางอากาศ
- สามารถส่งออกไปยังต่างประเทศได้ ทวั่ โลก ไม่ต้องประทับตรา IPPC
ข้ อเสียพาเลทกระดาษ
- หากถูกน ้า จะทาให้ เปื่ อยยุย่ ได้ ง่าย
- อาจขึ ้นราได้ หากเก็บอยูใ่ นพื ้นที่จดั เก็บที่มีความร้ อนชื ้น
- ความแข็งแรง ทนทาน อาจน้ อยกว่าพาเลทชนิดอื่นๆ
ขนาดมาตรฐานของพาเลทที่ใช้ ในประเทศไทย
พาเลทที่ทาจากวัสดุแต่ละประเภทจะมีขนาดที่แตกต่างกันไป ขึ ้นอยูก่ บั แม่พิมพ์ แต่สว่ นมากจะยึด
ตามขนาดมาตรฐานของ ISO ที่นิยมใช้ ในไทยมีอยู่ 3 ขนาด ได้ แก่ ขนาด 80*120*15 เซนติเมตร เป็ น
1 ในขนาดมาตรฐานของ EURO Pallet หรื อที่เรี ยกว่า E-Pallet ซึง่ ได้ รับการรับรองโดย
European Pallet Association เกี่ยวกับมาตรฐานโครงสร้ างตามมาตรฐาน GMP และ
HACCP ซึง่ ถ้ ากิจการต่างๆ คิดจะส่งสินค้ าไปยังยุโรป ก็ต้องใช้ พาเลทมาตรฐานนี ้ เพราะบริษัทจัดส่ง
สินค้ าและคลังสินค้ าในยุโรปจะยอมรับสินค้ าที่ถกู ส่งมาด้ วย EURO Pallet เท่านัน้ ซึง่
ผู้ประกอบการจะต้ องปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด มิฉะนันสิ้ นค้ าอาจจะถูกตีกลับได้ อีกแบบคือขนาด
110*110*15 เซนติเมตร ซึง่ เรี ยกกันว่า Japan Pallet เพราะประเทศญี่ปนุ่ เป็ นผู้ที่ผลิตและเริ่ม
นามาใช้ งานเป็ นแห่งแรก จนเกิดเป็ นมาตรฐานของขนาดพาเลทที่ถกู กาหนดขึ ้นมา ก่อนจะแพร่หลาย
ไปยังประเทศต่างๆ ในแถบเอเชีย และแบบที่สาม คือขนาด 100*120*15 เซนติเมตร เป็ นพาเลทขนาด
มาตรฐานที่นิยมใช้ กนั มากที่สดุ ในโลก รวมทังประเทศไทยเอง
้ มีต้นกาหนดมาจากประเทศ
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา การเลือกใช้ พาเลทแต่ละขนาดควรคานึงถึงรูปแบบ น ้าหนักของสินค้ า
รวมทังข้
้ อกาหนดในแต่ละประเทศด้ วย
มาตรฐานIPPC/ISPM15 คืออะไร
-IPPC และ ISPM15 คืออะไร?
IPPC เป็ นกฎบัตรที่ออกมาเพื่อใช้ ควบคุมและคุ้มครองป่ าไม้ และพืชไม่ให้ ได้ รับผลกระทบจากการขนส่ง
ระหว่าง ประเทศ ซึง่ อาจนาผลกระทบมาสูป่ ระเทศที่เป็ นจุดหมายปลายทาง
ISPM15 : คือส่วนหนึง่ ของ IPPC ที่กาหนดมาตรฐานสุขอนามัยของพืชโดยมีวตั ถุประสงค์ในการลดความ
เสี่ยง ในการแพร่กระจายของแมลงที่ไม่พงึ ประสงค์ที่อาจติดมากับบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทไม้ ในการขนส่งสินค้ า
ระหว่างประเทศ ทังที ้ ่เป็ นไม้ เนื ้ออ่อน และไม้ ชนิดอื่น ๆ แมลงดังกล่าวโดยเฉพาะ pinewood
nematode (พบในสหรัฐอเมริกา, แคนาดา เม็กซิโกและญี่ปนุ่ ซึง่ ในประเทศเหล่านี ้ไม่มีผ้ ลู า่ ตามระบบ
นิเวศน์) และแมลง Asian long horned beetle (พบในประเทศจีนและในอีกหลายประเทศซึง่ แมลง
ชนิดนี ้กาลังเป็ นภัยคุกคามป่ าไม้ ในประเทศสหรัฐอเมริ กา)
-ทาไมต้ องบังคับใช้
จุดประสงค์ของการใช้ IPPC เพื่อคุ้มครองป่ าไม้ และพืชโดยไม่ให้ มีการแพร่กระจายของแมลง ที่อาจติดมากับ
สินค้ านาเข้ าที่ใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ประเภทไม้ ที่ไม่ได้ มาตรฐาน
http://www.forestry.gov.uk/pwnematode

• ระหว่างประเทศ ทังที
้ ่เป็ นไม้ เนื ้ออ่อน และไม้ ชนิดอื่น ๆ แมลงดังกล่าว
โดยเฉพาะ pinewood nematode
-ใครเป็ นผู้ออกมาตรฐาน
มาตรฐาน ISPM15 เริ่ มได้ รับความเห็นชอบจากประเทศสหรัฐอเมริกาและคูค่ ้ ารวม 118
ประเทศ ในปั จจุบนั มีประเทศต่าง ๆ ให้ สตั ยาบรรณแล้ วรวม 134 ประเทศแม้ แต่ประเทศจีนซึง่
ไม่อยูใ่ นกลุม่ ประเทศสมาชิก ก็ได้ แสดงความประสงค์ที่จะบังคับใช้ เช่นกัน

-เริ่มมีผลบังคับใช้ เมื่อไร
มาตรฐาน ISPM15 ได้ ผา่ นความเห็นชอบแล้ วตังแต่ ้ เดือนมีนาคม 2002 แต่ได้ ถกู ชะลอ ใน
เดือนมิถนุ ายน 2002 เนื่องจากปั ญหาในเรื่ องตราสัญญาลักษณ์ FAO จึงได้ กาหนดตรา
สัญญาลักษณ์ขึ ้นใหม่ และได้ มีหลายประเทศเริ่ มทยอยใช้ แต่มีเพียงบราซิล แคนาดา และ
นิวซีแลนด์ ที่สามารถบังคับใช้ ได้ อย่างสมบูรณ์
-ทาอย่ างไรให้ ผ่านมาตรฐาน
มาตรฐาน IPPC ได้ กาหนดวิธีปฏิบตั ิสาหรับบรรจุภณ ั ฑ์ไม้ ไว้ 2 วิธี คือ
1. Methyl Bromide (MB) Fumigation : ในวิธีนี ้บรรจุภณ ั ฑ์ไม้ จะต้ องผ่านการรมยาด้ วยสาร
Methyl Bromide ซึง่ APHIS ได้ มอบหมายให้ NWPCA เป็ นผู้ดแู ล
2. Heat Treatment (HT) : ในวิธีนี ้บรรจุภณ ั ฑ์ไม้ จะต้ องผ่านการอบโดยให้ อณ ุ ภูมิที่แกนกลางของไม้ ไม่
น้ อยกว่า 56 องศาเซลเซียส เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 30 นาที ซึง่ APHIS ได้ มอบหมายให้ American
Lumber Standards Committee (ALSC) เป็ นผู้ดแู ล
หมายเหตุ : มาตรฐานตาม ISPM15 บังคับใช้ กบั ไม้ ทกุ ชนิด ในขณะที่บางมาตรฐานจะบังคับใช้ กบั ไม้
เนื ้ออ่อน เท่านัน้
-ข้ อกาหนดระหว่ างประเทศคืออะไร
สาหรับวัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ที่ทาจากไม้ (เช่น พาเลทไม้ ลังไม้ โปร่ง ลังไม้ ทบึ ไม้ แปรรูป เป็ นต้ น) ในหลายๆประเทศ
ทางทวีปยุโรป เอเชีย อเมริ กา และออสเตรเลีย ได้ ออกกฎข้ อบังคับสาหรับวัสดุใดๆก็ตามที่ทาจากไม้ ต้องได้ รับ
การผ่านกรรมวิธี การฆ่าเชื ้อโรค หรื อ การรมยาด้ วยสารเคมีที่ชื่อเมทิลโบรไมด์ พร้ อมกับต้ องประทับตรา
สัญลักษณ์ IPPC (International Plant Protection Convention) ลงบนเนื ้อไม้ ด้วย
-กรรมวิธีการฆ่ าเชือ้ โรคนีส้ ามารถทาได้ 2 วิธี คือ
- การฆ่าเชื ้อโรคด้ วยความร้ อนที่อณ ุ หภูมิไม่น้อยกว่า 56องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 30 นาที
หรื อ
- การรมยาโดยใช้ สารเคมี เมทิลโบร์ ไมด์ เป็ นระยะเวลาอย่างน้ อย 24 ชัว่ โมง หรื อ 48 ชัว่ โมง ตามแต่
ข้ อกาหนดของแต่ละท่าเรื อปลายทาง
-ในกรณีวสั ดุบรรจุภณ ั ฑ์ไม่ได้ ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื ้อ และประทับตราสัญลักษณ์ IPPC?เจ้ าหน้ าที่
ตรวจสอบ ณ ท่าเรื อปลายทางอาจมีคาสัง่ ให้ สง่ สินค้ าคืนทังตู ้ ้ กลับไปยังประเทศต้ นทาง หรื อถ้ าวัสดุบรรจุ
ภัณฑ์นนไม่ั ้ ได้ รับการประทับตราสัญลักษณ์ IPPC สินค้ าเหล่านันก้ ้ ออาจจะต้ องถูกส่งกลับคืนเช่นกัน?
วัสดุบรรจุภณ ั ฑ์จะต้ องมี ตราสัญลักษณ์ IPPC ประทับไว้ ซี่ง อักษรสองตัวแรกจะเป็ นตัวย่อของประเทศที่
ได้ ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื ้อ เครื่ องหมายจะประกอบไปด้ วย หมายเลขทะเบียนที่ได้ รับการรับรองจาก
ประเทศที่ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื ้อ ที่ออกให้ กบั บริษัทที่รับผิดชอบในการจัดการฆ่าเชื ้ออย่างเหมาะสม
สาหรับตัวย่อ HT หมายถึงการผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื ้อด้ วยความร้ อน หรื อ MB หมายถึงการผ่านกรรมวิธี
ฆ่าเชื ้อด้ วยสารเคมี เมทิลโบร์ ไมด์ ทังนี
้ ้ถ้ าได้ มีการประทับตราสัญลักษณ์แล้ ว สาหรับบางประเทศ ก็อาจจะ
ไม่ต้องใช้ ใบประกาศนียบัตรรับรองก็ได้ กรุณาดูตวั อย่างของตราสัญลักษณ์ทางด้ านล่าง
TH เป็ นตัวบอกถึงรหัสประเทศนันๆ้
0240 เป็ นตัวบอกเลขทะเบียนที่ได้ รับการรับรองจากหน่วยงานตรวจสอบ
MB-DB-DOA เป็ นตัวบอกว่า ผ่านกรรมวิธีด้วยความร้ อน HT หรื อ
ใช้ สารเคมี MT
ตัวอย่างการประทับตรา ippc และตราประทับชนิดอื่นๆ
ตัวอย่างการประทับตรา ippc และตราประทับชนิดอื่นๆ
ตัวอย่างตราประทับ EURO PALLET
ตราประทับ ippc ด้ านข้ างพาเลทไม้
ที่มา อ้างอิง
• http://palletplus.info
• http://www.ecogreenpallet.com
• www.chinter.com/

• www.nanawood.com
Retail Business Solutions Co.,Ltd.
www.rbs-pallet.com
Company Profile
– Retail Business Solutions Co.,Ltd.
• Established : In April,1993
• Authorized Capacity : 5 MB.
• Sale Volume : 300 MB. (Year 2007)
• Employee : 90 Persons
• Factory Area : 5 Rai (Bangna-Trad Km.44)
• Office Location : 46/18 Nuanchan Rd., Beungkum, Bangkok 10230
• Main Product & Service
– Design & Produce Steel Pallet , Tray , Carts
– Design & Produce & Installation Shelf , Rack , Displays ;
» 7-Eleven (over 10 yrs.) , PTT , PETRONUS , CALTEX , Double A
Business Partner

Retail Business Solutions Co.,Ltd.


www.rbs-corp.com

Chemical Enterprise Co.,Ltd.


www.chemical.co.th

Vorawat Wire Products Industrial Co., Ltd.


www.vorawatwire.com
• RBS STEEL PALLET
Descriptions
– The Innovation Steel Pallet
– Design by Japanese Engineering
– Lighter than Wooden Pallet about 20%-30%
– Cost Reduction , No Fumigation
– Save the Earth & Environments
– Weather Resistance
– 100% Product Recycle
– High Quality Steel Material (SPCC)
– Rust Free , Surface Treat. by Zinc Cr 3+
– RoHS , PPW Compliant
• The Best Value for The Earth
– Save the Earth & Environment
– RoHS Compliant
• (Restriction of Hazardous Substances)
• Lead (Pb), Cadmium (Cd) , Mercury (Hg) ,
Hexavalalent Chromium (Cr6+) – Not Detected
• http://en.wikipedia.org/wiki/RoHS

– PPW Compliant
• (Packaging ad Packaging Waste)
• http://en.wikipedia.org/wiki/Packaging_Waste_Regulations

– Lead Free (Zinc Cr 3+)


– Recycle 100%
• The Best Value for Your Business
– Verify Testing by Government -
Testing Institute (TISTR)
– No Fumigation
• Save Cost
• Save Timing
– Freight Saving
– Ideal for Air Freight
– Scarp Value
– Accept made to order
• Product
– Flat Steel Pallet
– Box Steel Pallet
– Frame Steel Pallet
– Steel Cart
– Made to order
Flat Steel Pallet

Material Steel SPCC / Zinc Cr3+ Maximum Load


Model Size (WxLxH) Weight Static Dynamic Rack
RBS-N3240 812 x 1016 x 138 mm. 8.7 Kgs. 4,500 Kgs. 1,800 Kgs. 850 Kgs.

RBS-N4048 1016 x 1219 x 138 mm. 10.5 Kgs. 4,500 Kgs. 1,400 Kgs. 750 Kgs.

RBS-N1111 1100 x 1100 x 138 mm. 10.3 Kgs. 4,500 Kgs. 1,400 Kgs. 750 Kgs.
* We accept made to order
Box Steel Pallet
Frame Steel Pallet
Steel Cart
Certificate – TISTR (ศูนย์ บรรจุหีบห่ อไทย)
Certificate – RoHS (Pro Applications Service Co.,Ltd.)
Certificate – Salt Spray Test
Steel Pallet Benefit
RBS Steel Pallet Wooden Pallet* Pallet Difference
Model Price Up (%)
Weight (kgs.) RBS Weight (kgs.) Price Weight Price

RBS3240 8.70 650 12.00 375.00 3.30 -275 73


RBS4048 10.50 750 16.00 410.00 5.50 -340 83
RBS1111 10.30 750 15.00 425.00 4.70 -325 76

Airfreight BKK.-LA.(3.5 USD.x 32 Bht.) 112 Baht/Kg.


Customer Cost Customer's Benefit Total Benefit Pallet Benefit
Value Up
Model Order Weight
Amount Amount Baht/Month Baht/Pallet (%)
(set) (kgs.)
RBS3240 500 -137,500 1,650 184,800 47,300 95 25
RBS4048 500 -170,000 2,750 308,000 138,000 276 67
RBS1111 500 -162,500 2,350 263,200 100,700 201 47
Total 1,500 -470,000 6,750 756,000 286,000 191 47
Pallet Scap Value 10 Baht/Kg. 67,500
Customer Net Benefit (Baht/Month) 353,500 236 58
SAFETY FIRST

ความปลอดภัยในการทางาน
สาหรับพนักงาน
ความปลอดภัย (Safety)
• หมายถึง สภาวะการปราศจากภัยหรื อการพ้นภัย
และรวมถึงปราศจากอันตราย (Danger) การ
บาดเจ็บ (Injury) การเสี่ ยงภัย (risk) และการ
สูญเสี ย (Loss)
ภัย (Hazard)
• หมายถึง สภาวการณ์ ซ่ งึ มีแนวโน้ มที่จะก่ อให้ เกิดการ
บาดเจ็บของบุคคล หรื อเกิดความเสียหายต่ อทรั พย์ สิน
รวมทัง้ การกระทบกระเทือนต่ อขีดความสามารถในการ
ปฏิบัตงิ านตามปกติของบุคคล
อันตราย (Danger)
• หมายถึง สภาวะทีเ่ ป็ นอันตรายไม่ ว่าจะอยู่ในระดับของความ
รุนแรงมากหรื อน้ อยขึน้ อยู่กบั สภาพของการทางานและการ
ป้ องกัน เช่ น การทางานบนทีส่ ู ง ซึ่งถือว่ าเป็ นสภาพการณ์ ทมี่ ี
ความเสี่ ยงที่จะมีโอกาสเกิดอันตรายขึน้ ได้ ถ้าหากเกิดความ
ผิดพลาดเกิดขึน้ และอาจทาให้ เกิดการบาดเจ็บหรื อถึงกับชีวติ ได้
อบุ ัตกิ ารณ์ (Incident)
• หมายถึง เหตุการณ์ ทไี่ ม่ ปรารถนาจะให้ เกิดขึน้ แต่ เมื่อ
เกิดขึน้ จะทาให้ เกิดการสู ญเสี ยตามมาอีกมากมาย เช่ น
งานซ่ อมบารุงเครื่ องจักรต้ องการเปลีย่ นชิ้นส่ วนอะไหล่
ตามกาหนดแต่ ปรากฏว่ าได้ อะไหล่ ไม่ ครบทาให้ งานล่ าช้ า
และเป็ นผลเสี ยกับระบบ
อุบัตเิ หตุ (Accident)
• หมายถึง เหตุการณ์ ท่ เี กิดขึน้ โดยไม่ มีใครคาดคิด
ไม่ ได้ ตงั ้ ใจให้ เกิดขึน้ ไม่ สามารถควบคุมได้ และ
หลีกเลี่ยงไม่ ได้ ขณะนัน้ ทาให้ เกิดความเสียหาย
ส่ งผลกระทบต่ อทัง้ ตัวเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ
สังคม และประเทศชาติ
สาเหตุจากคน
88%

สาเหตุจากความ
ผิดพลาดของเครื่ องจักร
การเกิดอบุ ัติเหตุ 10%

มี 3 สาเหตุ คือ สาเหตุทเี่ กิดจาก


ดวงชะตา
2%
ความสาคัญของความปลอดภัยในการทางาน
• สถิติของคนทางานที่ตอ้ งประสบอุบตั ิการณ์เกิดการ
บาดเจ็บ สู ญเสี ยทรัพย์สินเงินทอง อวัยวะ จนกระทัง่ ถึง
ชีวติ จากการประกอบอาชีพนั้นมีแนวโน้มสู งขึ้นทุกปี
สาเหตุเนื่องมาจากลักษณะของงานที่ทาอัตราเสี่ ยง สภาพ
การทางานที่เร่ งรี บ การทางานบนที่สูง หรื อในหน่วยงาน
ใดก็ตาม
การสูญเสี ยเนื่องจากการทางาน
• ประเทศไทยเป็ นประเทศที่กาลังพัฒนา ทาให้ เกิดมีโรงงานอุตสาหกรรม
ทังขนาดเล็
้ ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่เกิดขึ ้นมากมาย การลงทุน
เกี่ยวกับงานด้ านความปลอดภัยในการทางานจึงเป็ นเรื่ องที่ทาได้ ไม่มาก
เท่าที่ควร เนื่องจากมีการลงทุนค่อนข้ างสูงและผลที่ได้ รับคืนมาไม่เห็น
เป็ นปริ มาณหรื อตัวเลขอย่างชัดเจน โรงงานขนาดเล็กไม่สามารถลงทุน
ด้ านความปลอดภัยได้ และยังไม่เห็นถึงความสาคัญของงานด้ านความ
ปลอดภัยอีกด้ วย
ประเภทความสูญเสี ยเนื่องจากอุบัตเิ หตุมี 2 ส่ วน
คือ
ความสูญเสียทางตรง ได้ แก่ การรั กษาพยาบาลและการทดแทน
ความสูญเสียทางอ้ อม คนแทน ล่ วงเวลา เสี ยเวลา ของเสี ยหาย
ภาครัฐกดดัน
ผลกระทบทางตรงจากการเกิดอบุ ัติเหตุ (Direct Effect)

• อวัยวะร่ างกายได้ รับบาดเจ็บ บาดแผล


• เกิดเจ็บป่ วยด้ วยโรคจากการประกอบอาชีพ
• สูญเสียอวัยวะ พิการ สูญเสียชีวติ
• ขาดงาน หยดุ งาน ทาให้ ขาดรายได้
• สูญเสีผลกระทบทางอ้ อม (Indirect
ยเวลาในการรั กษาพยาบาล Effect)
ค่ าใช้ จ่าย ค่ าเดินทาง
• สูญเสียโอกาสความก้ าวหน้ าในการทางาน
• สูญเสียโอกาสทางสังคม
• หากสูญเสียชีวติ พ่ อ-แม่ สามี-ภรรยา บุตรจะได้ รับความเดือดร้ อน
ยากลาบาก
อันตรายที่กบั อวัยวะต่ างๆ ปี 2549
ปัญหาการประสบอันตรายจากการทางาน
 การประสบอันตรายจากการทางานนั้นมีปัจจัยสาคัญที่เกีย่ วข้ องกันตลอดเวลา ได้ แก่
• 1. ตัวบุคคล คือ ผูป้ ระกอบการลูกจ้างและบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ทางาน ซึ่งเป็ นตัวสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุหรื ออันตรายจากการทางาน
โดยอาจจะเกิดจากการขาดความรู ้ความเข้าใจถึงวิธีการทางานอย่างปลอดภัย
รวมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่อาจจะยังขาดทักษะในการตรวจบังคับให้ถูกต้อง
ตามกฎหมาย
• 2. สิ่ งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรื อสถานประกอบการ สภาพของการทางานที่
มีองค์ประกอบต่างๆ เพื่อให้มีการดาเนินงานได้โดยรอบตัวของผูป้ ฏิบตั ิงาน
รวมทั้งกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทั้งในสถานประกอบการและของ
หน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบยังขาดเอกภาพที่เด่นชัด และบางครั้งไม่
เอื้ออานวยต่อการป้องกันควบคุมที่มีประสิ ทธิภาพ
• 3. อุปกรณ์ เครื่ องจักร เครื่ องมือ คือ วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็ นต้องใช้ในการ
ปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการเพื่อการผลิตและบรรลุเป้าหมายในการ
ทางาน ซึ่งอาจเสื่ อมสภาพขาดการตรวจสอบดูแลบารุ งรักษา ขาดการ
ควบคุมดูแลให้ปฏิบตั ิตาม
มาตรการในการแก้ ปัญหาการประสบอันตรายจากการ
ทางาน
• เพื่อให้การทางานของแรงงานได้รับความปลอดภัยสู งสุ ดและลดการเกิด
อุบตั ิเหตุจากการทางาน ลดความสู ญเสี ยจากการเกิดอุบตั ิเหตุ จึงจาเป็ นที่
จะต้องมีมาตรการกาหนดเพื่อการป้องกันและแก้ปัญหาต่างๆ เกิดขึ้น
1.การสอบสวนอุบัตเิ หตุ (Accident Investigation)

• การเกิดเหตุอนั ตรายหรื ออุบตั ิเหตุทุกครั้งมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการสอบสวนหาสาเหตุที่แท้จริ ง


และมีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นข้อมูลแนวทางในการกาหนดมาตรการการป้องกัน
สาเหตุของการเกิดอุบัตเิ หตุไว้ อย่ างชัดเจน 7 ประการ ดังนี ้
1. ลักษณะของการบาดเจ็บ (Nature of injuries)
2. อวัยวะของร่างกายที่ได้ รับผลกระทบ (Part of body affected)
3. จุดที่ทาให้ เกิดการบาดเจ็บ (Source of injuries)
4. ชนิดของอุบตั ิเหตุ (Accident type)
5. สภาพของอันตราย (Hazardous conditions)
6. แหล่งกาหนดอุบตั ิเหตุ (Agency of accident)
7. การกระทาที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act)
2.การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety
Inspection)
• ค้ นหาสาเหตุของอันตรายเพื่อเป็ นแนวทางการกาหนดมาตรการในการป้ องกัน ซึ่งอาจ
เป็ นวิธีการทีเ่ ป็ นทางการหรื อโดยบุคลากรในองค์ กรทีม่ ปี ระสบการณ์ และตระหนักถึง
ความสาคัญของความปลอดภัย
• หัวข้ อสาคัญๆ ดังนี ้
1. เรื่ องความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย และความสะดวกของสถานที่
2. การจัดสุขาภิบาลโดยทัว่ ไป
3. เครื่ องมือ อุปกรณ์ไฟฟ้า
4. เครื่ องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ ลมความดันสูง
5. เครนหรื อปั น้ จัน่ ที่ใช้ ในการเคลื่อนย้ ายหรื อยกสิ่งของหนัก
6. อุปกรณ์ในการยกหรื อขนถ่ายวัสดุ
สาเหตุของการเกิดอุบัตเิ หตุจากการทางาน
อุบัตเิ หตุจากการทางานนัน้ สามารถแบ่ งออกเป็ น 2 สาเหตุใหญ่ ๆ
1. สาเหตุจากการปฏิบัตงิ านทีไ่ ม่ ปลอดภัย (Unsafe act) เป็ นการกระทาที่ไม่ ปลอดภัย
ของคนงานในขณะปฏิบัตงิ านเป็ นผลทาให้ เกิดอุบัตเิ หตุได้ ถงึ ร้ อยละ 88 ของ
อุบัตเิ หตุ เช่ น
 การใช้ อปุ กรณ์เครื่ องมือที่เป็ นเครื่ องจักรกลต่างๆ โดยพลการหรื อไม่ได้ รับ
มอบหมาย
การทางานที่มีอตั ราเร่งความเร็วของงานและเครื่ องจักรเกินกาหนด
การถอดอุปกรณ์ปอ้ งกันออกจากเครื่ องจักรโดยไม่มีเหตุอนั สมควร
 การดูแลซ่อมบารุงอุปกรณ์เครื่ องจักรในขณะที่กาลังทางาน
 การใช้ เครื่ องมืออุปกรณ์เครื่ องจักรที่ชารุดและไม่ถกู วิธี
2. สภาพการทางานที่ไม่ ปลอดภัย คือสภาพแวดล้ อมที่ไม่ ปลอดภัย
โดยรอบตัวของผู้ปฏิบัตงิ านขณะทางานซึ่งอาจเป็ นสาเหตุของ
การเกิดอุบัตเิ หตุได้ เช่ น
 เครื่ องจักรที่ไม่มีอปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตราย
 อุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องจักรที่ออกแบบไม่เหมาะสมกับการใช้ งาน
 บริ เวณพื ้นที่ของการปฏิบตั ิงานไม่เหมาะสม
 การจัดเก็บวัสดุสิ่งของอย่างไม่ถกู วิธี
 การจัดเก็บสารเคมีหรื อสารไวไฟที่เป็ นอันตรายไม่ถกู วิธี
มาตรการในการป้ องกันอบุ ัติเหตุ
การป้ องกันที่เครื่ องจักรหรื อแหล่ งกาเนิด
• การออกแบบเครื่ องจักรโดยคานึงถึงความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
• การสร้ างสิ่ งกั้นขวางไม่ ให้ คนเข้ าใกล้ ส่วนที่เป็ นอันตราย
• การติดตั้งสวิทช์ ทางานแบบกดปุ่ ม 2 มือ
• การติดตั้งสวิทช์ แบบหยุดเครื่ องฉุกเฉิ น
• มีการตรวจรั กษาและซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรเป็ นประจาสมา่ เสมอ
การป้ องกันที่ทางผ่ าน
• การกาหนดขั้นตอนการทางานที่ปลอดภัยเป็ นระเบียบปฏิบัติ
• การจัดสถานที่ทางานให้ สะอาดเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย
• จัดเก็บเครื่ องมือ วัตถุดบิ ในจดุ ทีก่ าหนด
• การติดตั้งป้ ายหรื อสัญญาณเตือนอันตราย
• อย่ าวางสิ่งของกีดขวางทางเดิน ทางออกฉุกเฉิน
• การสร้ างฉากเพือ่ แยกส่ วนทีเ่ ป็ นอันตรายออกจากพืน้ ที่ปฏิบัติงาน
การป้ องกันทีผ่ ้ ปู ฏิบัติงาน

• การสวมเครื่ องแบบทีถ่ ูกต้ องรัดกุม เช่ น ชายเสื้ อ แขนเสื้ อไม่ ร่ ุมร่ าม


รวบผมหรื อสวมหมวก
• การปฏิบัตติ ามระเบียบปฏิบัตงิ านหรื อตามคู่มือปฏิบัตงิ านอย่ าง
เคร่ งครัด
• การใช้ อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลอย่ างถูกต้ องและเหมาะสม
• การออกแบบเครื่ องมือกลเพื่อใช้ ทางานแทนคนในงานทีม่ คี วามเสี่ ยงสู ง
• การออกกฎระเบียบข้ อบังคับในการทางาน
อุปกรณ์ ป้องกันตัวในการทางาน
อุปกรณ์ ป้องกันศีรษะ เพือ่ ป้ องกันอันตรายให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ใน
บริเวณทีม่ คี วามเป็ นไปได้ทจ่ี ะเกิดอันตรายแก่ศีรษะ จากการตกหรือเคลือ่ นที่
ของวัสดุต่างๆ อันตรายทีเ่ กิดขึ้นต่อศีรษะ
การป้ องกันใบหน้ าและดวงตา เพือ่ ป้ องกันผูป้ ฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ใน
บริเวณทีม่ อี นั ตรายต่อใบหน้าและดวงตา จากการกระเด็นของวัสดุต่างๆ โลหะที่
มีความร้อน สารเคมีเหลว กรด ด่าง ไอของสารเคมีหรือรังสี ไม่ควรให้ใช้คอน
แทคเลนส์ในห้องปฎิบตั กิ ารเคมี หรือในพื้นทีท่ ม่ี สี ารเคมีหรือฝุ่นละออง สาหรับ
ผูท้ ใ่ี ช้คอนแทคเลนส์จาเป็ นต้องสวมใส่แว่นตานิรภัยเสมอ
การป้ องกันการสูดดม ป้ องกันอันตรายให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ใน
บริเวณทีก่ ารควบคุมไม่สามารถป้ องกันผูป้ ฏิบตั งิ านจากอันตรายทีจ่ ะเกิดขึ้น
เนื่องจากฝุ่นละออง หมอก ควัน หรือไอของสารเคมีได้
อุปกรณ์ ป้องกันเสียง เป็ นอุปกรณ์ทส่ี วมใส่ เพือ่ กัน้ ความดังของเสียง ทีจ่ ะมา
กระทบต่อแก้วหู กระดูกหู เพือ่ ป้ องกันอันตรายทีม่ ตี ่อระบบการได้ยนิ เพือ่
ป้ องกันอันตรายให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ในบริเวณทีอ่ าจเกิดอันตรายจากเสียงทีม่ ี
ระดับความดังมาก (8 ชม. TWA> 85 เดซิเบล)
การป้ องกันร่ างกาย เป็ นอุปกรณ์ทส่ี วมใส่เพือ่ ป้ องกันอันตราย จากการกระเด็นหก
ของกรดหรือเบสของสารเคมี การทางานในทีม่ คี วามร้อนสูงหรือมีสะเก็ด
ลูกไฟ เป็ นต้น
• ชุดป้ องกันสารเคมี ทาจากวัสดุทท่ี นต่อสารเคมี เช่น โพลีเมอร์ ใยสังเคราะห์
Polyester และเคลือบด้วย polymer ชุดป้ องกันสารเคมีมหี ลายแบบ เช่น
ผ้ากันเปื้ อน ป้ องกันเฉพาะลาตัว และขา เสื้อคลุมป้ องกันลาตัว แขน และขา
เป็ นต้น
• ชุดป้ องกันความร้อน ทาจากวัสดุทส่ี ามารถทนความร้อน โดยใช้งานทีม่ ี
อุณหภูมสิ ูง ถึง 2000ºF เช่น ผ้าทีท่ อจากเส้นใยแข็ง (glass fiber fabric)
เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมเิ นียม เพือ่ สะท้อนรังสีความร้อน หรือทาจากหนัง
เพือ่ ใช้ป้องกันความร้อน และการกระเด็นของโลหะทีร่ อ้ น
อุปกรณ์ ป้องกันผิวหนังและมือ
– เพือ่ ป้ องกันอันตรายให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ในบริเวณทีร่ ่างกายและมืออาจ
ได้รบั อันตรายจากสารเคมีทจ่ี ะซึมเข้าสู่ผวิ หนัง การถูกบาดหรือถลอก หรือการเผาไหม้
จากความร้อนหรือสารเคมี เป็ นต้น
– การป้ องกันต้องมีความเหมาะสมตามแต่อนั ตรายทีจ่ ะเกิดขึ้น
อุปกรณ์ ป้องกันเท้ า เพือ่ ป้ องกันอันตรายให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ใน
บริเวณทีอ่ าจเกิดอันตรายต่อเท้า จากการตกหล่นหรือการกลิ้งของวัสดุ การ
ลืน่ หรือวัสดุทส่ี ามารถแทงพื้นรองเท้าได้ และในบริเวณทีอ่ าจเกิดอันตราย
จากกระแสไฟฟ้ า
– ป้ องกันนิ้วเท้าจากการถูกกระแทกและโดนทับ
– ป้ องกันความปลอดภัยให้กบั กระดูกเท้า
– ป้ องกันอันตรายจากกระเสไฟฟ้ า (ไม่เกิน 600 โวลต์ภายใต้สภาวะแห้ง)
– ป้ องกันการเป็ นสือ่ ไฟฟ้ า (ลดปริมาณไฟฟ้ าสถิตให้เหลือน้อยทีส่ ุด)
– ป้ องกันพื้นรองเท้าจากการถูกเจาะหรือแทง
เครื่ องหมายอัคคีภยั
เครื่องหมายห้ ามละเมิด

You might also like